Page 9 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 9

วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดพิษณุโลก พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒
                                                                                          ั
                      แต่แม้กระน้นก็ยังไม่มีหนังสือประมวลภาพถ่ายหรือหนังสือแนวสมุดภาพอยู่ดี เม่อคนท่วไปอยากทราบเหตุการณ์
                               ั
                                                                                     ื
                     ี
               สถานท่ บุคคล หรือประเพณีของพิษณุโลกผ่านภาพถ่าย โดยเฉพาะอย่างย่ง ภาพถ่ายเก่าๆ จึงนึกอะไรไม่ค่อยออก
                                                                             ิ
                                                                                                          ้
                                                                                                          ำ
               พร้อมกันนั้นภาพต่างๆ ก็ถูกธรรมชาติ เช่น แดด ฝน ความร้อน ความช้น สัตว์แมลงต่างๆ หรือภัยจากไฟไหม้ และนาท่วม
                                                                       ื
               ซึ่งคนที่ไม่เห็นความสำาคัญต่างก็ทำาลายกันไปเรื่อยๆ
                      เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ เกิดไฟไหม้ใหญ่กลางเมืองพิษณุโลก นั่นก็ยิ่งทำาให้ภาพถ่ายเก่าและข้าวของต่างๆ สูญหายไป
               นับไม่ถ้วน และไม่สามารถกู้คืนได้ การทำาสมุดภาพจึงเป็นงานสำาคัญที่ต้องเร่งทำาโดยเร็ว
                      ในสมัยนี้นายรณชัย จิตรวิเศษ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก และนายภูสิต สมจิตต์ ผู้ว่าราชการจังหวัด
               พิษณุโลกคนปัจจุบัน ได้เห็นความสำาคัญของการประมวลหลักฐานด้านภาพถ่ายตามนโยบายของนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ
               ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ให้ความสนใจทั้งด้านงานปกครองและงานประวัติศาสตร์ จึงได้สนับสนุนจัดสรรงบประมาณ
               และมอบหมายให้คณะทำางานออกตระเวนเก็บภาพเก่าจากอำาเภอต่างๆ มารวบรวมตีพิมพ์ขึ้นในชื่อสมุดภาพพิษณุโลก
               ทำาให้ได้พบภาพดีๆ จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ คลังภาพส่วนตัวของนักสะสม หน่วยงานราชการ วัดวาอาราม และ
               ตามบ้านเรือนของผู้คนต่างๆ หลายร้อยภาพ
                      หลักการของการทำาหนังสือสมุดภาพโดยสรุปคือ
                      ๑. เน้นที่ภาพรุ่นเก่า คือภาพยุคขาวดำาเป็นหลัก เพราะหน้ากระดาษมีจำากัดประมาณ ๒๔๐ หน้า ต้องกันที่ไว้
               สำาหรับคนรุ่นเก่าหรือภาพยุคเก่าเสียก่อน เมื่อมีโอกาสจึงจะรวมภาพในชั้นหลังต่อไป

                      ๒. เน้นภาพที่คมชัด มีคุณภาพ มีเนื้อหา หรือมีเรื่องเล่าพอสมควร
                      ๓. ทำาการสำาเนาก๊อปปี๊ภาพเดี๋ยวนั้น คืนเดี๋ยวนั้น เพื่อมิให้เกิดปัญหาภาพสูญหาย หรือคลาดเคลื่อนเปลี่ยนมือ
               คณะทำางานใช้ช่างภาพมืออาชีพ และทำางานอย่างเป็นระบบ มีการสอบถามรายละเอียดของภาพแต่ละภาพในระหว่าง
               บันทึกภาพ
                      ๔. ระบุที่มาของภาพเพื่อคนรุ่นหลังจะได้ไม่ต้องเสียเวลาค้นหาอีกต่อไป
                      ๕. ให้เกียรติเจ้าของภาพหรือข้อมูล ให้เกียรติผู้อนุเคราะห์ต่างๆ ซึ่งทำาให้ความรู้งอกงามขึ้นโดยระบุชื่อกำากับ
               ในคำาบรรยาย ในหมายเหตุการทำางาน หรือในรายนามบุคคลที่ให้ความอนุเคราะห์อย่างชัดเจน
                                                                       ้
                                                                       ำ
                      ๖. ส่วนหลังของหนังสือ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังหรือสิ่งของลาค่าชิ้นสำาคัญๆ ของจังหวัดลงไว้ด้วยเพื่อให้เห็น
               มรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่นอกเหนือไปจากภาพถ่ายด้วย
                      ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของชาวพิษณุโลกดังได้พยายามเอ่ยนามแต่ละท่านไว้ใต้ภาพ หรือในหน้าหมายเหตุ
                                                                               ี
               การทำางานท้ายเล่ม หนังสือสมุดภาพพิษณุโลกจึงได้สำาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายท่วางไว้ ถือเป็นหนังสือสมุดภาพเล่มแรก
               ของจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์แก่การศึกษาค้นคว้าอย่างแน่นอน



                                                                                             นายเอนก นาวิกมูล
                                                                                 วันจันทร์ที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๖






                                                               คณะทำางานหนังสือสมุดภาพพิษณุโลกเข้าคารวะนายภูสิต สมจิตต์
                                                               ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก (น่งหน้า) เพื่อถ่ายภาพพระพุทธนวราชบพิตร
                                                                                   ั
                                                               และพระแสงราชศัสตราสำาหรับมณฑลพิษณุโลก ณ ศาลากลางจังหวัด
                                                               พิษณุโลก เม่อวันท่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (แถวยืนจากซ้าย -
                                                                        ื
                                                                            ี
                                                               นายพิชญ์ เยาว์ภิรมย์ นายสุทัศน์ ฉายบ้านใหม่ นายวุฒิพงศ์ ท้าวฬา
                                                                     ั
                                                               นายธงชย ลขตพรสวรรค์ นางสาวโชติรส เกตุแก้ว นางสาวทษฏยา
                                                                                                          ิ
                                                                         ิ
                                                                        ิ
                                                               นาคเนียม และนายสุปรีดิ์ ณ นคร)
                                                                                           สมุดภาพพิษณุโลก   7
                                                                                                           Ÿ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14