Page 12 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 12
เมืองพิษณุโลกเป็นสถานที่ตั้งมั่นรับศึกกับพม่าก่อนจะยกทัพไปกรุงธนบุรี โดยเฉพาะกองทัพของอะแซหวุ่นกี้
ื
ี
ี
แม่ทัพพม่าท่ยกมาตีเมืองพิษณุโลกเม่อ พ.ศ. ๒๓๑๘ กองทัพของอะแซหวุ่นก้ต้องเผชิญการต่อสู้อย่างทรหดกับ
ี
ุ
กองทัพของเจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ถึงขนาดอะแซหว่นก้ต้องพักรบเพือขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี และทำานายว่า
่
ต่อไปภายหน้าจะได้เป็นกษัตริย์ ทัพพม่าต้องล้อมเมืองพิษณุโลกเป็นเวลาถึง ๔ เดือน จนเสบียงภายในเมืองพิษณุโลก
ั
ื
ิ
ั
้
ร่อยหลอหมดสน เป็นเหตุให้เจ้าพระยาจักรีจำาเป็นต้องถอนทพออกจากเมืองก่อน ทพพม่าเข้าเมองพิษณุโลกแล้ว
ได้ทำาลายเผาผลาญบ้านเมืองพินาศสิ้น ยกเว้นวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เพียงแห่งเดียว จากนั้น
อะแซหวุ่นกี้ก็ได้รับคำาสั่งให้ยกทัพกลับพม่า
สมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดให้ร้อป้อมปราการกำาแพงเมือง
ื
ี
ั
พิษณุโลก เพื่อไม่ให้ข้าศึกใช้เป็นท่ม่นโจมตีกรุงรัตนโกสินทร์ได้ จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๗ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
ึ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ ๕) ได้จัดระบบการปกครองมณฑลเทศาภิบาล ซ่งเป็นระบบรวมอำานาจเข้ามาไว้ใน
ี
ี
ึ
ั
ึ
ส่วนกลาง และจัดต้งมณฑลพิษณุโลกข้น มีเมืองต่างๆ ท่ข้นกับมณฑลพิษณุโลก ได้แก่ พิชัย สวรรคโลก พิษณุโลก พิจิตร
สุโขทัย หล่มสัก และเมืองเพชรบูรณ์ เมื่อยกเลิกการปกครองแบบมณฑลแล้ว พิษณุโลกจึงมีฐานะเป็นจังหวัดเรื่อยมา
จนถึงปัจจุบัน
ื
แม่นาแควน้อย ไหลบรรจบสบรวมกับแม่นำาน่าน (ตำานานท่มาเมืองสองแคว) ตำาบลปากโทก อำาเภอเมืองพิษณุโลก ถ่ายเม่อ
ำ
้
ี
้
พ.ศ. ๒๕๐๙ (ภาพจากนางอัมพร อยู่คง ถ่ายโดย นายผล ศรีสมวงษ์ ร้านแสงอักษรถ่ายภาพ)
10 สมุดภาพพิษณุโลก