Page 14 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 14
จังหวัดพิษณุโลกในปัจจุบัน
ั
ี
นับต้งแต่การเปล่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นต้นมา จังหวัดพิษณุโลกมีการพัฒนาในด้าน
ี
ึ
ิ
สาธารณูปโภคพื้นฐานข้นอย่างต่อเนื่อง อาทิ การริเร่มสำารวจและสร้างทางหลวงท่ขยายตัวจากเส้นทางรถไฟตาม
นโยบาย “แผนการทางหลวงแผ่นดินท่วราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๔๗๙” (คือจุดเร่มต้นของการสร้างเส้นทางสายพิษณุโลก -
ิ
ั
สุโขทัย และสายพิษณุโลก - หล่มสัก ในเวลาต่อมา), การก่อสร้างสนามบินของกองบิน ๔๖ กองทัพอากาศ พ.ศ. ๒๔๘๔
(ปัจจุบันคือท่าอากาศยานพิษณุโลก), การสร้างโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก พ.ศ. ๒๔๘๓ เป็นต้น จึงส่งผลให้
ี
ั
ี
จังหวัดพิษณุโลกมีความเจริญรุดหน้ากว่าจังหวัดใกล้เคียง ท้งด้วยความท่เป็นเมืองเกษตรกรรมท่มีความอุดมสมบูรณ์ของ
ี
ี
พื้นท่ ผนวกกับความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของเมืองท่เป็นชุมทางมาตั้งแต่อดีต ทำาให้จังหวัดพิษณุโลกมีสถานะเสมือน
ี
ี
เป็นศูนย์กลางของพื้นท่ภาคเหนือตอนล่าง และกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ท่มีความเติบโตทางเศรษฐกิจสูงอย่างต่อเนื่อง
ุ
ี
ปัจจบนจังหวดพิษณโลกมพืนท ๑๐,๘๑๕.๘๕๔ ตารางกโลเมตร จานวนประชากร ๘๔๙,๖๙๒ คน (สารวจ
ั
่
ั
ี
ุ
ำ
ิ
ำ
้
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๒) แบ่งการปกครองเป็น ๙ อำาเภอ คือ อำาเภอเมืองพิษณุโลก อำาเภอวังทอง อำาเภอบางระกำา อำาเภอ
บางกระทุ่ม อำาเภอพรหมพิราม อำาเภอนครไทย อำาเภอชาติตระการ อำาเภอวัดโบสถ์ และอำาเภอเนินมะปราง มีคำาขวัญ
ิ
ประจำาจังหวัดคือ “พระพุทธชินราชงามเลิศ ถ่นกาเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉาแท้กล้วยตาก
่
�
�
ถ�้าและน�้าตกหลากตระการตา”
ี
โดยปัจจุบันจังหวัดพิษณุโลกได้กำาหนดเป้าหมายการพัฒนาในการเป็น “เมืองท่องเท่ยว ๓ ธรรม ๔ แยกระเบียง
เศรษฐกิจที่มั่งคั่ง” ประกอบด้วยประเด็นการพัฒนา ๖ ประเด็นที่สำาคัญ คือ
๑) ส่งเสริมเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันด้านการค้า การลงทุนสินค้า บริการ โครงข่ายคมนาคมและ
โครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาสู่ความมั่งคั่ง และเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
ี
ี
๒) พัฒนาการท่องเท่ยวท่ได้มาตรฐานสากลและย่งยืน และเป็นเมืองศูนย์กลางการประชุมและจัดนิทรรศการ
ั
(MICE CITY)
๓) ยกระดับการเกษตรที่เป็นระบบเพิ่มมูลค่าและการตลาดที่ครบวงจรบนฐานนวัตกรรมและเทคโนโลยี
๔) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์สร้างสังคมสุขยั่งยืน และสืบสานอัตลักษณ์ประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม
๕) พัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พลังงาน อย่างเป็นระบบและยั่งยืน
๖) เสริมสร้างความมั่นคง ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน พัฒนาระบบเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤต และ
ขยายความร่วมมือความสัมพันธ์กับต่างประเทศอย่างมีดุลยภาพ
ี
รวมท้งจากการท่มีลักษณะพิเศษเป็นจุดตัดของระเบียงเศรษฐกิจ เหนือ-ใต้ (NSEC) ระเบียงเศรษฐกิจ
ั
ตะวันออก - ตะวันตก (EWEC) และระเบียงเศรษฐกิจหลวงพระบาง-อินโดจีน-เมาะลำาไย (LIMEC) ท่ถูกนิยามว่าเป็นส่แยก
ี
ี
อินโดจีน จึงถือเป็นศูนย์กลางภาคเหนือตอนล่าง ด้านการค้า การลงทุน การศึกษา การสาธารณสุข และการเกษตร
โดยได้รับการประกาศให้เป็น MICE City ๑ ใน ๑๐ ของประเทศไทยแล้ว และได้รับการประกาศเป็นเขตพื้นที่ส่งเสริม
เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ในด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ และด้านการบริหารจัดการอัจฉริยะ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของประชาชนให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
สิ่งอ้างอิง
�
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำานักงานภาคเหนือ เขต ๓. (๒๕๔๔). คู่มือการท่องเที่ยวพิษณุโลก. พิษณุโลก: การท่องเที่ยว
แห่งประเทศไทย สำานักงานภาคเหนือ เขต ๓.
ื
วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม. (๒๕๒๖). หนังสืออ่านประกอบบทเรียน ส.ป.ช. ความรู้เร่องเมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม.
สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติและวิทยาลัยครูพิบูลสงคราม. (๒๕๒๒). รายงานผลการสัมมนา ประวัตศาสตร์เมืองพิษณุโลก.
พิษณุโลก: สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
12 สมุดภาพพิษณุโลก