Page 11 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 11

พิษณุโลกมีแหล่งเตาเผาเคร่องปั้นดินเผาโบราณสมัยสุโขทัยตอนปลาย เรียกกันว่า “เตาเผาพิษณุโลก” หรือ
                                             ื
                                  ี
                          ้
               “เตาเผาลุ่มนำาน่าน“ ท่กรมศิลปากร และ ดร.ดอนไฮน์ นักโบราณคดีชาวออสเตรเลีย ร่วมกันสำารวจทางโบราณคด   ี
               ใน พ.ศ. ๒๕๒๗ พบซากเตาเผาโบราณจมอยู่ใต้ดินจำานวนกว่า ๔๐ เตา ที่แหล่งเตาบ้านเตาไห (ตาปะขาวหาย) ชุมชน
                                                                    ึ
                           ำ
                           ้
               โบราณริมแม่นาน่าน ตำาบลหัวรอ อำาเภอเมืองพิษณุโลก คือส่วนหน่งของร่องรอยวิวัฒนาการความเจริญรุ่งเรืองของเมือง
               พิษณุโลกตั้งแต่อดีตที่มีวิวัฒนาการสืบต่อมาจนปัจจุบัน
                      หลักฐานสำาคัญทางประวัติศาสตร์ที่กล่าวถึงที่มาของพิษณุโลกในรูปแบบของ “ตำานาน” คือ “พงศาวดารเหนือ”
               ว่าด้วยตำานานการสร้างเมืองพิษณุโลกมีความเก่ยวข้องกับ “พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก” แห่งเมืองเชียงแสน มีพระราชโองการ
                                                     ี
               ให้ “จ่านกร้อง” และ “จ่าการบุญ” ลงมาจากเมืองเชียงแสนพร้อมด้วยเกวียนคนละ ๕๐๐ เล่ม เมื่อมาถึงเมืองสองแคว
                            ิ
                                                                                 ้
               จึงแยกย้ายตั้งถ่นฐานกันคนละฝั่ง จ่านกร้องสร้างเมืองด้านทิศตะวันตกของแม่นาน่าน จ่าการบุญสร้างเมืองด้านทิศ
                                                                                 ำ
                                                                                         ิ
                                       ื
                               ้
               ตะวันออกของแม่นำาน่าน เม่อพระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎกทราบข่าวแล้วทรงยินดีเป็นอย่างย่งและเสด็จลงมาจากเมือง
               เชียงแสน และให้ตั้งชื่อเมืองว่า “พิษณุโลก” ตามยาม (เวลา) ที่พระองค์เสด็จมาถึงเมืองนี้
               เมืองพิษณุโลกสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ๓
                      สมัยสุโขทัย เมืองสองแคว (พิษณุโลก) เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุโขทัย ครั้งสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑
               (ลิไท) เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๑๙๐๐ เสด็จมาประทับที่เมืองพิษณุโลกเพื่อปกป้องมิให้ทางกรุงศรีอยุธยาคุกคามอาณาจักร
               สุโขทัย ทรงปฏิสังขรณ์พระมหาธาตุสร้างวัดวาอาราม ทำานุบำารุงพระพุทธศาสนาอยู่ ๗ ปี ต่อมาพระเจ้าไสฤๅไทย พระราชโอรส
                                                        ุ
                                                             ุ
                                                    ั
               มาครองเมองในฐานะเมืองลูกหลวง ต่อสกองทพกรงศรีอยธยาไม่ได้กยอมอ่อนน้อมตามเดม เพื่อเป็นการปองกนมให้ทาง
                                               ู้
                                                                                                       ั
                                                                                                         ิ
                                                                                                   ้
                                                                      ็
                                                                                      ิ
                        ื
                                                                                             ื
                                                                                                      ิ
                                                                                ี
               กรุงศรีอยุธยาคุกคามอาณาจักรสุโขทัย และได้ต้งศูนย์กลางการบริหารอาณาจักรท่เมืองสองแคว เม่อพระองค์ส้นพระชนม์
                                                     ั
               ขุนหลวงพ่องั่วได้ขึ้นครองราชย์ที่กรุงศรีอยุธยา ทรงใช้กำาลังยึดเมืองพิษณุโลกได้
                      สมัยอยุธยา เมืองพิษณุโลกทวีความสำาคัญมากข้น เพราะลักษณะท่ตั้งน้นอยู่ก่งกลางระหว่างกรุงศรีอยุธยา
                                                                                       ึ
                                                                               ี
                                                               ึ
                                                                                  ั
                                                                ี
               กับอาณาจักรฝ่ายเหนือ (ล้านนา) ในสมัยสมเด็จพระบรมราชาท่ ๒ (เจ้าสามพระยา) ทรงโปรดให้พระราเมศวร พระราชโอรส
               ขึ้นไปปกครองเมืองสองแคว และครองราชสมบัติเฉลิมพระนามว่า สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ทรงปฏิรูปการ
                                                           ั
               ปกครองในรูปแบบการดึงอำานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง เม่อคร้งทำาศึกสงครามกับพระเจ้าติโลกราชแห่งเมืองเชียงใหม่ พระองค์
                                                        ื
               ได้มาประทับอำานวยการศึกที่เมืองพิษณุโลกในขณะนั้น พิษณุโลกจึงมีฐานะเป็นราชธานีของอยุธยานานถึง ๒๕ ปี คือ
               ต้งแต่ พ.ศ. ๒๐๐๖ - ๒๐๓๑ เมืองพิษณุโลกถือเป็นเมืองสำาคัญในการรวมอาณาจักรสุโขทัยและอยธุยาเข้าเป็นอาณาจักร
                ั
               เดียวกัน ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พร้อมกับทรงอุปถัมภ์ศาสนา โปรดให้สร้างพระอาราม
               วัดจุฬามณี ตลอดจนบูรณะวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ แล้วทรงจัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งยิ่งใหญ่ถึง ๑๕ วัน
                                                                                         ้
                                                                                         ั
                                                                              ั
                                                      ู
                                                                                  ี
                      ต่อมาเมืองพิษณุโลกมีฐานะเป็นเมืองลกหลวง และเป็นหน้าด่านสำาคญท่จะสกัดกนกองทัพพม่า มิให้รุกราน
               กรุงศรีอยุธยาได้ เช่น ในรัชกาลของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ทรงดำารงฐานะพระมหาอุปราชครองเมือง
               พิษณุโลก ระยะนนอยธยาตกเป็นเมองขนของพม่า สมเดจพระนเรศวรได้ทรงรวบรวมชายฉกรรจ์ชาวพิษณุโลกและ
                                             ื
                                                 ้
                                                 ึ
                              ้
                              ั
                                  ุ
                                                               ็
               ในหัวเมืองฝ่ายเหนือร่วมกันกอบกู้อิสรภาพสำาเร็จได้ใน พ.ศ. ๒๑๒๗
                      สมัยธนบุรี เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐) บรรดาหัวเมืองใหญ่ได้ตั้งเมืองเป็นอิสระ
                                                                                                 ั
                    ั
               รวมท้งพิษณุโลกด้วย หลังจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมีชัยชนะบรรดาหัวเมืองดังกล่าว ได้ต้งเมืองพิษณุโลก
               เป็นหัวเมืองเอกขึ้นกับกรุงธนบุรี
                                                           ี
               ๓  ข้อมูลจากจากหนังสือคู่มือการท่องเท่ยวพิษณุโลก (การท่องเท่ยวแห่งประเทศไทย สำานักงานภาคเหนือ เขต ๓. ๒๕๔๔. คู่มือการท่องเท่ยว
                                                                                                             ี
                                           ี
                  พิษณุโลก. พิษณุโลก: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำานักงานภาคเหนือ เขต ๓)
                                                                                            สมุดภาพพิษณุโลก   9
                                                                                                           Ÿ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16