Page 8 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 8
คำานำา
พิษณุโลก หรือโลกของพระวิษณุ เมืองใหญ่ของภาคเหนือตอนล่าง มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ยาวนานมาก
ี
ื
ี
หากตัดมาแต่ช่วงใกล้ กล่าวเฉพาะเร่องท่เราได้ยินบ่อยๆ ก็เช่น “พระเจ้าศรีธรรมไตรปิฎก” หรือ “พระมหาธรรมราชาท่ ๑
(ลิไท)” ทรงสร้างเมืองสองแควขึ้นใหม่ริมแม่นาน่าน บริเวณตัวเมืองพิษณุโลกในปัจจุบัน
้
ำ
ทรงสร้างวัดต่างๆ ขึ้นหลายวัด ได้แก่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วัดเจดีย์ยอดทอง วัดอรัญญิก และวัดราชบูรณะ
ี
ทรงโปรดให้หล่อพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห์และพระศรีศาสดาข้นประดิษฐานไว้ท่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ และทรงสร้าง
ึ
พระราชวังจันทน์ ซึ่งต่อมาคือสถานที่ประสูติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
พระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์ได้เสด็จมายังพิษณุโลกเพื่อสักการะพระพุทธชินราช และเพื่อการสงคราม
บางพระองค์ก็เคยประทับที่นั่น
พ.ศ. ๒๓๒๘ เกิดสงครามเก้าทัพ พม่ามีร้พลมาก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ ๑
ี
ี
ทรงโปรดให้รื้อกำาแพงเมืองพิษณุโลกลงเพื่อไม่ให้ข้าศึกยึดใช้เป็นฐานที่มั่นเพื่อเข้าตีพระนครได้
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เคยเสด็จด้วยเรือกลไฟขึ้นมายังเมืองพิษณุโลก โดยมีสมเด็จ
เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เมื่อยังบรรพชาเป็นสามเณรตามเสด็จด้วย
ี
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ ๕ ทรงพอพระราชหฤทัยในความงามของ
พระพุทธชินราชมาก จึงโปรดให้ช่างหล่อพระพุทธชินราชจำาลองมาประดิษฐานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร เม่อ พ.ศ.
ื
๒๔๔๔
พิษณุโลกเคยเป็นท่ต้งของเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลก ต้งแต่ พ.ศ. ๒๔๓๗ และมีพระพุทธชินราชเป็นตรา
ั
ั
ี
ประจำาจังหวัดพิษณุโลก
ึ
ั
ส่วนในยุคปัจจุบัน ความโดดเด่นต่างๆ ของพิษณุโลกถูกสรุปรวมอยู่ในคำาขวัญประจำาจังหวัด ซ่งกล่าวส้นๆ
่
�
�
ิ
ว่า “พระพุทธชินราชงามเลิศ ถ่นกาเนิดพระนเรศวร สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ หวานฉ�าแท้กล้วยตาก ถ้าและน�าตก
้
หลากตระการตา”
ี
ความจริงแล้วพิษณุโลกมีอะไรต่างๆ ท่น่าศึกษามากมาย ท้งทางด้านประวัติศาสตร์ สถานท่ท่องเท่ยวทาง
ี
ี
ั
ธรรมชาติ (ทุ่งแสลงหลวง-ภูหินร่องกล้า -เขาสมอแครง-เขาหินปูนบ้านมุง ฯลฯ) เร่องราวของบุคคลและเหตุการณ์สำาคัญ
ื
ต่างๆ สามารถเขียนหนังสือออกมาได้หลายเล่ม ท่ผ่านมามีหนังสือเขียนถึงพิษณุโลกประมาณสิบกว่าเล่ม ตัวอย่าง
ี
หนังสือ อาทิ
พระราชปรารภเรื่องพระพุทธชินราช พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จดหมายระยะทางไปพิษณุโลก (เม่อ พ.ศ. ๒๔๔๔) พระนิพนธ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ื
พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖
เรื่องเมืองพิษณุโลก พระนิพนธ์สมเด็จฯ กรมพระยาดำารงราชานุภาพ เคยพิมพ์รวมอยู่ในหนังสือชื่อ เที่ยวตาม
ทางรถไฟ
น�าเที่ยวเมืองสองแควหรือพิษณุโลก รวบรวมโดยบุญชด แสงต่าย รวมพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ข้างในมีภาพ
ี
ี
ประกอบท่น่าสนใจและคมชัดหลายภาพ สถานท่หลายแห่งยังดูสะอาดตาต่างไปจากสภาพปัจจุบัน ภาพในเล่มจึงม ี
คุณค่าไม่น้อย
ความทรงจ�าของข้าพเจ้า โดยพลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕
พิษณุโลก โอฆบุรีเมืองพระพุทธชินราช โดย ส.ส.สุชน ชามพูนท พ.ศ. ๒๕๑๓
รายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก ณ วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม ๒๕-๒๗ มกราคม ๒๕๒๒
สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติจัดพิมพ์
จังหวัดพิษณุโลก (ปกพื้นเขียวลายไทยขาว) จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการประชาสัมพันธ์และพิมพ์เอกสารการ
จัดงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ พ.ศ. ๒๕๐๐
พิษณุโลกของเรา โดยหวน พินธุพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๔
รายงานการวิจัยเรื่องประวัติศาสตร์สังคมเมืองพิษณุโลก พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๕๐๓ โดยจิราพร สถาปนะวรรธนะ
พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒
6 สมุดภาพพิษณุโลก