Page 13 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 13
สถานที่ส�าคัญทางประวัติศาสตร์ของเมืองพิษณุโลก ๔
๑. วัดพระศรีรัตนมหาธาต (วัดใหญ่) สันนิษฐานว่าสร้างข้นในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ ๑ (ลิไท) แห่งสุโขทัย
ึ
ี
ุ
ประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ โดยมีพระพุทธรูปสำาคัญประดิษฐาน คือ พระพุทธชินราช พระพุทธรูปปางมารวิชัยหันพระพักตร์
ไปทางแม่นาน่าน (ทิศตะวันตก) โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตรัสสรรเสริญพระพุทธชินราชไว้ว่า
้
ำ
ั
ี
ื
�
“...ตั้งแต่ข้าพเจ้าเห็นพระพุทธรูปมานักแล้ว ไม่ได้เคยรู้สึกว่าดูปล้มใจจาเริญตาเท่าพระพุทธชินราชเลย ท่ตั้งอยู่น้น
ก็เหมาะหนักหนา วิหารพอเหมาะกับพระ มีท่ดูได้ถนัด และองค์พระก็ตั้งต�าพอดูได้ตลอดองค์ ไม่ต้องเข้าไปดูจ่อนจ่อเกินไป
่
ี
ั
ี
ิ
ิ
และไม่ต้องแหงนคอต้งบ่าแลดูแต่พระนาสิกพระ ย่งพิศไปย่งรู้สึกยินดีว่าไม่เชิญมาเสียจากท่น้น ถ้าพระพุทธชินราช
ั
ี
ี
ี
ยังคงอยู่ท่พิษณุโลกตราบใด เมืองพิษณุโลกจะเป็นเมืองท่ควรไปเท่ยวอยู่ตราบนั้น ถึงในเมืองพิษณุโลกจะไม่มีชิ้นด ี
อะไรเหลืออยู่อีกเลย ขอให้มีแต่พระพุทธชินราชเหลืออยู่แล้ว ยังคงอวดได้อยู่เสมอว่ามีของควรดูควรชมอย่างย่ง
ิ
อย่างหนึ่งในเมืองเหนือ ฤๅจะว่าในเมืองไทยทั้งหมดก็ได้...”
๒. วัดจุฬามณี เป็นวัดท่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงผนวช ๘ เดือน ๑๕ วัน ต้งอยู่ในตำาบลท่าทอง
ี
ั
อำาเภอเมืองพิษณุโลก มีศาสนสถานท่สร้างด้วยศิลาแลง คือ พระปรางค์วัดจุฬามณี ประมาณพุทธศตวรรษ
ี
ที่ ๑๖ - ๑๘ ศิลปะลพบุรี ลักษณะมีฐาน ๓ ชั้น แต่ละชั้นก่อย่อมุม ส่วนเรือนปรางค์นั้นย่อมุมไม้สิบสอง แต่ส่วนยอด
ไม่มีเพราะพังทลายไปแล้ว
ี
ั
ั
๓. พระราชวังจันทน์ พระราชวังช้นเจ้านายท่สร้างข้นตั้งแต่สมัยสุโขทัย น่าจะมีการบูรณะหลายคร้งโดยเฉพาะ
ึ
สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จข้นไปประทับยังพิษณุโลก และเป็นท่ประทับของสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชและ
ี
ึ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเมื่อครั้งครองเมืองพิษณุโลก พระราชวังจันทน์ในปัจจุบันยังมีฐานรากที่เป็นอิฐหลงเหลืออยู่
ั
ั
้
ำ
ิ
ำ
้
ู
้
ั
ั
ำ
มกาแพงวงล้อมรอบทงชนในและชนนอก กาแพงล้อมรอบตังอย่ส่วนทางทศเหนือและฝั่งตะวนตกของแม่นาน่าน
ี
ั
้
้
พระราชวังจันทน์มีความสำาคัญเนื่องจากเป็นสถานที่ประสูติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๘
วิถีชีวิตของชาวพิษณุโลกในอดีต ๕
ี
ชาวพิษณุโลกส่วนใหญ่ในอดีตดำารงชีวิตด้วยอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักเนื่องจากเป็นพื้นท่ราบลุ่มเสียส่วนใหญ่
้
ำ
ราษฎรมักต้งท่อยู่อาศัยกระจัดกระจายไปตามแม่นาและบริเวณวัดเป็นสำาคัญ สภาพของชุมชนพิษณุโลกในอดีตปรากฏ
ั
ี
ี
ในพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยกล่าวถึงฝั่งตะวันตกของพิษณุโลก ซึ่งเคยเป็นท่ตั้งของ
ตะแลงแกง ทิศใต้ของเมืองว่า “ทิศตะวันออกมีความเจริญกว่าทิศตะวันตก ราษฎรใจบุญมาก ระยะทางสองสามเส้นมีศาลา
แห่งหนึ่งเป็นที่พักของคนเดินทางแลเลี้ยงพระเสมอ เมื่อไปวันนี้ก็พบก�าลังเลี้ยงพระอยู่แห่งหนึ่ง หว่างศาลามีบ่อน�้า”
ชาวพิษณุโลกส่วนใหญ่เป็นชาวพื้นเมืองด้งเดิม อาศัยอยู่ท้งในตัวเมืองและในต่างอำาเภอ ชาวพิษณุโลกเดิมบางส่วน
ั
ั
อาศัยอยู่ในเรือนไม้ลอยอยู่ริมแม่นาน่าน เรียกว่า “เรือนแพ” ซ่งเป็นเอกลักษณ์ในอดีตของเมืองพิษณุโลก และมีชาวต่างด้าว
้
ำ
ึ
ปะปนอยู่บ้าง เช่น ชาวจีน ชาวอินเดีย มุสลิม และคริสต์ ซึ่ง ๔ กลุ่มนี้มักอาศัยในชุมชนเมืองพิษณุโลก ส่วนผู้คนในกลุ่ม
ั
ั
ชาติพันธุ์มีท้งชาวม้ง ลีซอและเย้า โดยมากต้งถิ่นฐานอยู่ตามเทือกเขาในท้องท่อำาเภอนครไทย อำาเภอชาติตระการ
ี
ี
ชาวพิษณุโลกส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก และมีลักษณะวัฒนธรรมส่วนใหญท่ได้รับอิทธิพลมาจากภาคกลาง
ของไทย ๖
๔ สรุปสาระสำาคัญจากหนังสือรายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก (สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติและวิทยาลัยคร ู
พิบูลสงคราม, ๒๕๒๒. รายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ)
๕ สรุปสาระสำาคัญจากหนังสือรายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก (สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติและวิทยาลัยคร ู
พิบูลสงคราม. ๒๕๒๒. รายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ)
๖ สรุปสาระสำาคัญจากหนังสืออ่านประกอบบทเรียน ส.ป.ช. ความรู้เรื่องเมืองพิษณุโลก (วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม. ๒๕๒๖. หนังสืออ่านประกอบ
บทเรียน ส.ป.ช. ความรู้เรื่องเมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม)
สมุดภาพพิษณุโลก 11