Page 10 - :: สมุดภาพพิษณุโลก ::
P. 10

พื้นภูมิเมืองพิษณุโลก



           ภัครพล แสงเงิน ๑


           เมืองพิษณุโลกสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัติศาสตร์ ๒

                 พิษณุโลกเป็นเมืองท่มีความเป็นมายาวนานทางด้านประวัติศาสตร์ จากการสำารวจหลักฐานทางตำานาน
                                   ี
                                                             ่
                                                 ื
                                                                                         ิ
           พงศาวดาร โบราณคดีพบว่าพิษณุโลกในอดีตมีช่อเรียกหลายชือ เช่น สรลวงสองแคว, สองแคว, ทวสาขนคร, ชัยนาทบุรี,
                            ็
                                                                                    ้
                                                                                   ่
                                                                                      ำ
                                                                        ็
                                                                                                     ่
                                                                                    ำ
                                                  ่
           พิษณุโลก, โอฆบุรี เปนต้น โดยเฉพาะนามเมืองวาสองแควนั้นเนื่องมาจากเปนเมืองที่มีแมนาสาคัญ ๒ สายไหลผาน คือ
                          ้
              ้
           แม่นำาน่านและแม่นำาแควน้อย โดยคำาว่า “พิษณุโลก” น่าจะเป็นช่อเรียกอย่างเป็นทางการในสมัยอยุธยา โดยพบหลักฐาน
                                                             ื
           การเรียกชื่อเมืองสองแควว่าพิษณุโลกในโคลงยวนพ่ายประมาณรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
                 พิษณุโลก มีพื้นท่ ๑ ใน ๓ เป็นภูเขาและป่าไม้อุดมสมบูรณ์ เป็นต้นกำาเนิดสายนาสำาคัญ ๒ สาย คือ แม่นาแควน้อย
                                                                               ำ
                                                                               ้
                               ี
                                                                                                  ำ
                                                                                                  ้
               ำ
               ้
                                                                            ้
                                                                            ำ
                       ี
                                                                     ั
                  ี
           (แม่นาท่ยาวท่สุดในพิษณุโลก ๑๘๕ กิโลเมตร) และคลองชมพู รวมท้งมีแม่นาสายสำาคัญไหลผ่านอีก ๓ สาย คือ
                                                           ำ
                        ำ
           แม่นาน่าน, แม่นายม, แม่นาวังทอง (แม่นาเข็ก) และมีแม่นาเหืองงาเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทยกับ สปป.ลาว
                                                           ้
                                 ้
                                 ำ
                                             ้
                        ้
                                             ำ
              ้
              ำ
           ที่ตำาบลบ่อภาค อำาเภอชาติตระการ ยาวในราว ๒๐ กิโลเมตร
                 พิษณุโลกมีการสำารวจพบหลักฐานทางโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ อาทิ เครื่องมือหิน ขวานหินขัด หรือ
           ขวานฟ้า และเศษภาชนะดินเผาเนื้อหยาบ (ยุคหินใหม่) พบกระจายอยู่ในเขตพื้นที่ ๘ อำาเภอ และปรากฏพบเครื่องมือ
              ื
           เคร่องประดับยุคโลหะสำาริด อาทิ ขวานสำาริด กำาไลสำาริด เป็นต้น ในเขตอำาเภอชาติตระการ อำาเภอนครไทย อำาเภอ
           วังทอง อำาเภอเนินมะปราง อำาเภอบางระกำา เป็นต้น
                                                                                                         ้
                 รวมท้งยังปรากฏพบแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะผนังถา อาทิ ภาพสลักหิน รอยขูดขีด เพิงผาถา
                                                                          ้
                      ั
                                                                                                         ำ
                                                                          ำ
                                                         ้
           จำานวน ๗ แห่ง อาทิ ผากระดานเลข อำาเภอชาติตระการ-ถำากาเล็ก, ถำากาใหญ่, ผาขีด ภูขัด, ผาคอเขาบ้านพร้าว, ผาแลน
                                                                 ้
           เขาผาประตูเมือง อำาเภอนครไทย และเพิงผา เขาหวดนม อำาเภอวังทอง เป็นต้น
                                                                  ้
                 พิษณุโลกยังปรากฏภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ท่ถาพระง่ง ถำาคอขาด พุทธสถาน เขากระไดม้า
                                                                  ำ
                                                                        ั
                                                                            ้
                                                                 ี
           และเขาผาแดง บ้านนาน้อย อำาเภอชาติตระการ - ถำาพระ ตำาบลนำากุ่ม อำาเภอนครไทย และถำาฝ่ามือแดง ผาท่าพล
                                                      ้
                                                                  ้
                                                                                        ้
           อำาเภอเนินมะปราง เป็นต้น
                 พิษณุโลกยังขุดพบสุสานมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ท่แหล่งโบราณคดีวัดหนองตะเคียน ตำาบลหนองกุลา
                                                               ี
                                           ้
                                           ำ
           และแหล่งโบราณคดีคลองวัดไร่ ริมแม่นายม พบโครงกระดูก เคร่ืองมือหิน ลูกปัดหิน และเศษภาชนะดินเผาเนื้อหยาบ
           จำานวนมาก รวมท้งปรากฏพบโลงศพไม้โบราณยุคก่อนประวัติศาสตร์ จำานวนถึง ๑๑ โลง ในเขตอำาเภอบางระกำาอีกด้วย
                         ั
                 พิษณุโลกเป็นดินแดนที่มีแหล่งเกลือสินเธาว์โบราณซึ่งเป็นยุทธปัจจัยสำาคัญยิ่งมานับแต่โบราณกาล เกลือมีค่า
           ดุจทองคำา ปรากฏพบมากถึง ๖ แหล่ง คือ แหล่งเกลือโบราณ บ้านบ่อโพธิ์ ตำาบลบ่อโพธ์ิ, บ่อเกลือบ้านนาขุมคัน ตำาบล
           นครชุม อำาเภอนครไทย บ่อเกลือ บ้านบ่อภาคใต้ อำาเภอชาติตระการ, แหล่งเกลือบ้านนาขาม, ห้วยคลองเค็ม ป่าโป่ง
                       ำ
                                                        ำ
                                                        ้
                       ้
           แดงเค็ม บ้านนาหัก อำาเภอวัดโบสถ์ และแหล่งเกลือห้วยนาเค็มบนเขาต้นนาชมพู ตำาบลชมพู อำาเภอเนินมะปราง เป็นต้น
                                                                      ำ
                                                                      ้
                                                        ำ
           รวมทั้งยังปรากฏพบร่องรอยชุมชนเมืองโบราณที่มี “คูนาคันดิน สามชั้น” เป็น “ตรีบูร” ที่ยังคงเหลือปรากฏหลักฐานอยู่
                                                        ้
           อาทิ เมืองโบราณนครไทย เมืองโบราณชาติตระการ เป็นต้น
                                                                             ำ
                                            ั
                                                                ุ
                                                                                                    ั
                                                                             ้
                               ำ
                                                                                               ำ
                                                ำ
                          ี
                                                           ิ
                                                                          ุ
                                                                          ่
                 ตลอดจนมการสารวจพบโบราณวตถุจานวนมากบรเวณชมชนโบราณลมนาชมพู คลองดงละคร ตาบลวดตายม
                                                              ้
           อำาเภอบางกระทุ่ม ชุมชนวังพิกุล วังสำาโรง ชุมชนวังสาร ลุ่มนำาวังทอง ชุมชนโบราณยมราช อำาเภอเมืองพิษณุโลก
           เป็นต้น รวมท้งมีการขุดพบเศียรพระพุทธรูปศิลาสมัยทวารวดีขนาดใหญ่ เทวรูปทวารวดี โบราณวัตถุจำานวนมาก
                       ั
           ในลุ่มนำาวังทอง คลองสาขาย่านชุมชนโบราณวังวารี ตำาบลแม่ระกา พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร ใบเสมาหินด้านหลัง
                 ้
                                                                                                   ่
                                                                                                   ี
                                                                         ั
                                     ำ
                           ี
                                         ู
                                     ้
             ั
           สลกเป็นรปสถปเจดย์ทรงหม้อนา (ปรณฆฏะ) และพระลีลาหินทรายแดงสลกทวารวดี ราวพุทธศตวรรษท ๑๗-๑๘
                       ู
                   ู
           ที่วัดหน้าพระธาตุ (วัดเหนือ) อำาเภอนครไทย เป็นต้น
           ๑  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำาสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
                                                                                               ั
                ุ
                                                            ุ
                                                                                           ิ
                                                                                                 ู
           ๒  สรปสาระสำาคญจากหนงสอรายงานผลการสมมนาประวตศาสตรเมองพิษณโลก (สานกคณะกรรมการวฒนธรรมแหงชาตและวทยาลยครพิบลสงคราม.
                                                                  ั
                                                                ำ
                                                                                                    ู
                              ื
                            ั
                                                                             ั
                                         ั
                                                ั
                                                 ิ
                                                       ื
                                                                                        ิ
                      ั
                                                                                    ่
                                                     ์
              ๒๕๒๒. รายงานผลการสัมมนาประวัติศาสตร์เมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: สำานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ)
           8   สมุดภาพพิษณุโลก
             Ÿ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15