Page 9 - •-- สมุดภาพกำแพงเพชร --•
P. 9

พื้นภูมิเมืองกำ�แพงเพชร





                                                                                          โดย ดร.ธีระวัฒน์ แสนคำ�
                                                             คณะมนุษยศ�สตร์และสังคมศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏเลย



                                          กำ�แพงเพชร เป็นจังหวัดหนึ่งในภ�คเหนือตอนล่�ง มีอ�ณ�เขตติดต่อกับจังหวัดสุโขทัย
                                   และพิษณุโลกท�งทิศเหนือ จังหวัดพิจิตรท�งทิศตะวันออก จังหวัดนครสวรรค์ท�งทิศใต้ และ
                                   จังหวัดต�กท�งทิศตะวันตก มีระยะท�งห่�งจ�กกรุงเทพมห�นครม�ท�งด้�นทิศเหนือร�ว ๓๕๘
                                                ี
                                   กิโลเมตร พื้นท่ของจังหวัดกำ�แพงเพชรมีเน้อท่ประม�ณ ๘,๖๐๗.๕๐ ต�ร�งกิโลเมตร (หรือ
                                                                         ี
                                                                       ื
                                   ๕,๓๗๙,๖๘๗.๕๐ ไร่) ซึ่งพื้นที่ทั้งหมดกระจ�ยอยู่บนพื้นที่ ๓ ลักษณะด้วยกันคือ ๑) ที่ร�บลุ่ม
                                       ้
                                                    ำ
                                   แม่น�แบบตะพักลุ่มน� ครอบคลุมพื้นที่ประม�ณร้อยละ ๗๐ ของจังหวัด ถือเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่ง
                                       ำ
                                                    ้
                                                 ำ
                                   ของที่ร�บลุ่มแม่น�ปิงซึ่งไหลผ่�นกล�งพื้นที่จังหวัดกำ�แพงเพชร มีคว�มเหม�ะสมต่อก�รเพ�ะ
                                                 ้
                                                                                     ี
                                                                     ี
                                   ปลูก เช่น ข้�ว พืชสวน พืชไร่ ๒) ท่เนินสลับท่ร�บ ครอบคลุมพื้นท่ประม�ณร้อยละ ๒๐ ของจังหวัด
                                                             ี
                                   มีลักษณะเป็นเนินเข�เตี้ยๆ สลับกับที่ร�บ เหม�ะสมต่อก�รปลูกพืชไร่ เช่น อ้อยและข้�วโพด
                                   ๓) ภูเข�สลับซับซ้อน อยู่ท�งทิศตะวันตกครอบคลุมพื้นที่ประม�ณร้อยละ ๑๐ ของจังหวัด และ
                                               ้
                                   เป็นแหล่งต้นนำ�ส�ยสำ�คัญ เช่น คลองขลุง คลองสวนหม�ก คลองวังไทร และคลองวังเจ้�
                                                                                    ำ
                                                                                    ้
                                                             จังหวัดกำ�แพงเพชรมีแม่น�ปิงเป็นเสมือนเส้นเลือดใหญ่ท ี ่
                                                                   ู
                                                                ี
                                                                             ั
                                                                                               ำ
                                                      ไหลหล่อเล้ยงผ้คนในจังหวดม�ช้�น�นแล้ว แม่น�ปิงยงเป็นเส้นท�ง
                                                                                                   ั
                                                                                               ้
                                                      คมน�คมโบร�ณสำ�คัญระหว่�งรัฐโบร�ณท�งภ�คเหนือ เช่น รัฐ
                                                                                                     ้
                                                                                                     ำ
                                                      หริภุญไชย และรัฐล้�นน� กับศูนย์กล�งรัฐสย�มในลุ่มแม่น�เจ้�พระย�
                                                        ั
                                                            ุ
                                                                                                     ้
                                                                                                     ำ
                                                               ี
                                                                 ุ
                                                        ้
                                                      (ทงกรงศรอยธย� กรงธนบุรและกรุงเทพมห�นคร) แม่น�ปิงจึงเป็น
                                                                        ุ
                                                                              ี
                                                      เส้นท�งเชื่อมคว�มสัมพันธ์ท�งด้�นก�รเมือง ก�รปกครอง เศรษฐกิจ
                                                      และสังคมวัฒนธรรมของผู้คนในภ�คเหนือกับภ�คกล�งของไทยม�
                                                      ตั้งแต่อดีต และเป็นปัจจัยสำ�คัญท่ผลักดันให้เกิดก�รตั้งถิ่นฐ�นบ้�น
                                                                                   ี
                                                                            ้
                                                      เมืองขึ้นบริเวณสองฝั่งแม่นำ�ปิงในเขตจังหวัดกำ�แพงเพชร
                                                                                       ี
                                                                    ิ
                                                                  ั
                                                             ก�รต้งถ่นฐ�นของผู้คนในพื้นท่จังหวัดกำ�แพงเพชรปร�กฏ
                                                                            ี
                                                      หลักฐ�นท�งโบร�ณคดีท่แสดงถึงร่องรอยก�รอยู่อ�ศัยของมนุษย์
                                                                       ี
                                                                                      ้
                                                      ต�มเนินเข�เต้ยๆ ท่อยู่ไม่ห่�งจ�กแม่นำ�ปิงม�กนักม�ตั้งแต่สมัยก่อน
                                                                  ี
                                                      ประวัติศ�สตร์ เช่น แหล่งโบร�ณคดีเข�กะล่อน อำ�เภอข�ณุวรลักษบุรี
                                                      แหล่งโบร�ณคดีบ้�นคลองเมือง อำ�เภอโกสัมพีนคร แหล่งโบร�ณคด ี
                                                      บ้�นโค้งวิไล อำ�เภอคลองขลุง แหล่งโบร�ณคดีบ้�นคอปล้อง อำ�เภอ
                                                      บึงส�มัคคี และแหล่งโบร�ณคดีถำ�เขียว อำ�เภอเมืองกำ�แพงเพชร หลักฐ�น
                                                                               ้
                                                      ที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่ เครื่องมือหินแบบต่�งๆ ภ�ชนะดินเผ� เครื่องมือ
                                                      เหล็ก ชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์ เศษตะกรันที่เหลือจ�กก�รถลุงโลหะ แวดิ
                                                      นเผ� เคร่องประดับสำ�ริด ลูกปัดหิน และลูกปัดแก้ว หลักฐ�นจ�กแหล่ง
                                                              ื
                                                                                         ่
                                                                                                         ุ
                                                               ี
                                                                                       ั
                                                      โบร�ณคดเหล่�นีสะท้อนให้เห็นก�รต้งถินฐ�นของผู้คนในยคแรก
                                                                     ้
                                                                                                             ึ
                                                                                   ี
                                                                                                   ้
          แผนท่แสดงบริเวณจังหวัดกำ�แพงเพชรจ�กหนังสือ   หรือยุคก่อนประวัติศ�สตร์บนพื้นท่ดอนใกล้กับแหล่งนำ�ธรรมช�ติซ่ง
               ี
                                                                                  ำ
                                                                     ำ
                                                                                  ้
                                                                     ้
          อักขร�นุกรมภูมิศ�สตร์ไทย ฉบับร�ชบัณฑิตยสถ�น   ส่วนใหญ่เป็นลำ�น�ที่ไหลลงสู่แม่น�ปิง เมื่อเวล�ผ่�นไป ผู้คนเหล่�นี้ก็
                                                               ื
                                                                                                      ้
                                                                                           ี
          พ.ศ. ๒๕๐๗                                   ค่อยๆ เคล่อนย้�ยลงม�ตั้งบ้�นเรือนอยู่ต�มท่เนินริมฝั่งแม่นำ�ปิง มีก�ร
                                                                                                       ึ
                               ี
                               ่
                                             ั
          (ภ�พจ�กหน่วยวจัยแผนทและเอกส�รประวติศ�สตร์     ติดต่อและรับอิทธิพลท�งสังคมวัฒนธรรมจ�กคนภ�ยนอก ซ่งเป็นช่วง
                       ิ
          จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย)                      เวล�ที่เข้�สู่ยุคต้นประวัติศ�สตร์
                                                                                         สมุดภาพก�าแพงเพชร   7
                                                                                                           Ÿ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14