Page 13 - •-- สมุดภาพกำแพงเพชร --•
P. 13
ื
ั
หลังจ�กท่สมเด็จพระนเรศวรมห�ร�ชเม่อคร้งดำ�รงพระยศพระมห�อุปร�ชได้ทรง
ี
กว�ดต้อนเทครัวเมืองกำ�แพงเพชรลงสู่กรุงศรีอยุธย�เมื่อ พ.ศ. ๒๑๒๗ แม้จะมีก�รฟื้นฟูเมือง
กำ�แพงเพชรขึ้นม�อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๑๓๕ แต่บทบ�ทและคว�มสำ�คัญของเมืองกำ�แพงเพชร
ก็ไม่ปร�กฏในหลักฐ�นประวัติศ�สตร์ม�กนัก ในช่วงปล�ยสมัยกรุงศรีอยุธย� พม่�ได้ยกทัพม�
ล้อมกรุงศรีอยุธย�และบุกเข้�ทำ�ล�ยจนสิ้นในต้นปี พ.ศ. ๒๓๑๐ โดยก่อนหน้�นั้นมีหลักฐ�นชั้น
ั
ี
ั
รองบ�งฉบับระบุว่� สมเด็จพระท่น่งสุริย�ศน์อมรินทร์ (พระเจ้�เอกทัศน์) ทรงต้งพระย�ต�ก
(สิน) เป็นพระย�วชิรปร�ก�ร เจ้�เมืองกำ�แพงเพชร เป็นบำ�เหน็จร�งวัลคว�มเข้มแข็งในก�ร
ป้องกันพระนคร แต่ทว่�ประเด็นนี้ค่อนข้�งต่�งกับหลักฐ�นช้นต้นเท่�ท่มีอยู่ซึ่งระบุว่�พระย�
ั
ี
ต�ก (สิน) เป็นเจ้�เมืองต�กจนกระทั่งสิ้นกรุงศรีอยุธย�
ภ�ยหลังพระย�ต�ก (สิน) ได้รวบรวมไพร่พลขับไล่กองทัพพม่�และรวบรวมบ้�นเมือง
ึ
สถ�ปน�กรุงธนบุรีข้นม�เป็นศูนย์กล�งก�รเมืองก�รปกครองของรัฐสย�ม ก็โปรดให้พระย�
ื
สุรบดินทร์เป็นพระย�ร�มรณรงค์ เจ้�เมืองกำ�แพงเพชรเม่อ พ.ศ. ๒๓๑๓ และเมืองกำ�แพงเพชร
ี
ก็มีสถ�นะเป็นเมืองหน้�ด่�นท่คอยป้องกันก�รรุกร�นของกองทัพพม่�ท่ยกม�ท�งเหนือและท�ง
ี
ด่�นแม่ละเม� จนกระท่งถึงสมัยรัตนโกสินทร์ หลังก�รสถ�ปน�กรุงเทพมห�นครเป็นศูนย์กล�ง
ั
ื
็
ั
ก�รเมองก�รปกครองของรฐสย�ม พระบ�ทสมเดจพระพุทธยอดฟ้�จุฬ�โลกมห�ร�ชได้ฟื้นฟู
ื
ั
เมืองกำ�แพงเพชรอีกคร้ง เช่อกันว่�พระองค์โปรดให้นำ�ครัวช�วปัตต�นีม�อยู่ท่เมืองกำ�แพงเพชร
ี
ทำ�ให้มีก�รเรียกชื่อชุมชน “เก�ะแขก” ม�จนถึงปัจจุบัน และยังทรงพระร�ชท�นพระแสงด�บ
ฝักหุ้มทองคำ�ให้แก่เจ้�เมืองกำ�แพงเพชรเพื่อเป็นบำ�เหน็จร�งวัลจ�กร�ชก�รสงคร�ม ภ�ยหลัง
หลวงพิพิธอภัย (หวล) บุตรพระย�กำ�แพงเพชร (อ้น) ได้นำ�พระแสงด�บดังกล่�วทูลเกล้�ฯ ถว�ย
พระบ�ทสมเด็จพระจุลจอมเกล้�เจ้�อยู่หัวในคร�วเสด็จประพ�สต้นเมืองกำ�แพงเพชร พ.ศ. ๒๔๔๙
็
้
์
และพระองคกโปรดเกล�ฯ พระร�ชท�นพระแสงด�บดงกล�วใหแกพระย�วเชียรปร�ก�ร ผว�ร�ชก�ร
่
ิ
้
่
้
่
ั
ู
เมืองกำ�แพงเพชร ไว้สำ�หรับเป็นพระแสงด�บประจำ�เมืองกำ�แพงเพชรตร�บจนปัจจุบัน
้
ในสมัยรัตนโกสินทร์ ศูนย์กล�งของเมืองกำ�แพงเพชรได้ย้�ยลงม�อยู่ริมฝั่งแม่น�ปิง
ำ
ท�งใต้ของกำ�แพงเมืองกำ�แพงเพชรเก่� ซ่งเป็นบริเวณตัวเมืองกำ�แพงเพชรในปัจจุบัน เหตุท ่ ี
ึ
ั
ย้�ยศูนย์กล�งของเมืองไปอยู่นอกเขตกำ�แพงเมืองน้นสันนิษฐ�นว่�ตัวเมืองเดิมถูกท้งร้�งม�
ิ
ั
ต้งแต่คร�วกว�ดต้อนเทครัวช�วหัวเมืองเหนือลงสู่กรุงศรีอยุธย� พ.ศ. ๒๑๒๗ และย�กท่จะ
ี
รวบรวมไพร่พลเพื่อฟื้นฟูบูรณปฏิสังขรณ์ได้ เจ้�เมืองกำ�แพงเพชรในชั้นหลังจึงเลือกพื้นที่ท�ง
ใต้ของเมืองเก่�เป็นศูนย์กล�งแทน ดังจะเห็นได้ว่�ศิลปกรรมภ�ยในวัดคูย�ง พระอ�ร�มหลวง
ั
ึ
้
ซ่งเป็นวัดสำ�คัญในตัวเมืองกำ�แพงเพชรปัจจุบัน ท้งพระวิห�รหลวงและหอไตรกล�งนำ� ล้วนแต่
เป็นง�นศิลปกรรมที่สร้�งขึ้นในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ นอกจ�กนี้ ในรัชสมัยพระบ�ทสมเด็จ
ั
พระน่งเกล้�เจ้�อยู่หัว หลังศึกเจ้�อนุวงศ์ (พ.ศ. ๒๓๖๙-๒๓๗๑) ยังมีก�รกว�ดต้อนครัวช�วล�ว
ม�อยู่ท่บริเวณป�กคลองสวนหม�กฝั่งตรงข้�มกับตัวเมืองกำ�แพงเพชรเพื่อเป็นบำ�เหน็จร�งวัล
ี
แก่เจ้�เมืองกำ�แพงเพชรจ�กร�ชก�รสงคร�มครั้งนี้
ี
เมืองกำ�แพงเพชรยังมีหน้�ท่ในก�รส่งส่วยซึ่งเป็นผลผลิตแทนก�รเกณฑ์แรงง�นซึ่ง
ำ
ื
ุ
ี
ั
ท�งร�ชส�นกกรงเทพมห�นครเรยกเกบจ�กไพร่ ส่วยสำ�คญจ�กเมองก�แพงเพชร ได้แก่ ไม้
ำ
ั
็
ประเภทต่�งๆ เช่น ไม้สักและไม้ตะแบก และของป่�ประเภทข้ผ้ง ผลเร่วและผลกระว�น บ�งคร้ง
ึ
ั
ี
ก็มีก�รส่งเป็นส่วยเงินแทนส่งของ ช�วกำ�แพงเพชรผู้ทำ�ก�รค้�ข�ยและประกอบอ�ชีพต่�งๆ
ิ
ก็ต้องเสียภ�ษีอ�กรบำ�รุงรัฐ ดังปร�กฏในร�ยง�นก�รจัดเก็บภ�ษีในเมืองกำ�แพงเพชรของ
พระช�ตสุเรนทร์ เจ้�กรมพระตำ�รวจพลพันซ้�ยฝ่�ยพระร�ชวังบวร พ.ศ. ๒๔๓๙ ได้แก่ อ�กร
ำ
ค่�น� บ่อนเบี้ย สุร� ย�ฝิ่น น�อ้อย สุกร โรงร้�น จันอับ และค่�ตอไม้ขอนสัก
้
สมุดภาพก�าแพงเพชร 11