Page 8 - :: สมุดภาพชัยภูมิ ::
P. 8

ค�าน�า







                  คาขวัญของจังหวัดชัยภูมิมีว่า “กาเนิดแม่น�าชี สดุดีพญาแลผู้กล้า ปรางค์กู่เป็นสง่า ลาค่าพระธาตุ
                                                                                       �
                                                     ้
                                             �
                   �
                                                                                       ้
           ชัยภูมิ สมบูรณ์ป่าเขาสรรพสัตว์ เด่นชัดลายผ้าไหม ดอกกระเจียวงามลือไกล อารยธรรมไทยทวารวดี”
                                                 ้
                                                 �
                                                                                 �
                  หมายถึงชัยภูมิเป็นต้นทางของแม่นาชี พญาแลเป็นผู้กล้าเพราะไม่ยอมทาตามคาส่งของเจ้า
                                                                                        �
                                                                                          ั
           อนุวงศ์จากเวียงจันทน์ แม้ต้องถูกประหารชีวิต มีปรางค์กู่เป็นโบราณสถานเก่าแก่ มีพระธาตุชัยภูม  ิ
           ศิลปะผสมผสานระหว่างศิลปะล้านช้างกับล้านนาที่อ�าเภอแก้งคร้อ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐
                  ในป่าเขาเช่นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว มีพรรณไม้และสัตว์ป่าหลายชนิด ส่วนท่อ�าเภอ
                                                                                            ี
           หนองบัวแดงมีรอยเท้าและซากดึกด�าบรรพ์ไดโนเสาร์
                               ี
                                 �
                                ี
                   ผ้าไหมมัดหม่ท่อาเภอบ้านเขว้าทอลายได้สวย มีทุ่งดอกกระเจียวสีชมพูบานไสวในอุทยาน
           แห่งชาติป่าหินงามระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคมเป็นท่นิยมของนักท่องเท่ยว และสุดท้ายชัยภูม ิ
                                                               ี
                                                                               ี
           เป็นอีกที่หนึ่งที่ปรากฏร่อยรอยอารยธรรมสมัยทวารวดีเมื่อราวหนึ่งพันปีก่อน
                  ชัยภูมิอยู่ในภาคอีสานห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ ๓๕๐ กิโลเมตร จังหวัดข้างเคียงคือ ลพบุรี
           นครราชสีมา ขอนแก่น เพชรบูรณ์ และเลย
                                     ี
                  หนังสือท่ให้ความรู้เก่ยวกับชัยภูมิได้ค่อนข้างละเอียดคือหนังสือช่อวัฒนธรรม พัฒนาการ
                                                                            ื
                          ี
           ทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดชัยภูม คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและ
                                                              ิ
           จดหมายเหตุจัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒
                   หนังสือดังกล่าวกล่าวว่าในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งแต่เดิมบางแห่งเขียนว่า “ไชยภูมิ” เคยมีคน
                                                                   ี
                                           ื
           อยมาตั้งแต่สมัยกอนประวัติศาสตร์หรอเม่อราว ๓,๕๐๐ - ๑,๕๐๐ ปมาแล้ว หลักฐานได้แก่ภาชนะดินเผา
             ู่
                          ่
                                              ื
                                                       �
                        �
                                                                               �
            ี
           ท่บ้านโนนทัน อาเภอเกษตรสมบูรณ์ เคร่องมือเหล็ก กาไล ห่วงสาริดท่บ้านโป่งนก อาเภอเทพสถิต เป็นต้น
                                                                    ี
                                                                �
                                            ื
                                     ื
                   ในสมัยทวารวดีหรือเม่อยุคพันปีก่อน ชัยภูมิอยู่ในเส้นทางการเผยแพร่วัฒนธรรมทวารวดีจาก
           ภาคกลางสู่ภาคอีสาน ดังหลักฐานเสมาบ้านกุดโง้ง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ
                   ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) เวียงจันทน์ตก
           เป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา ชาวเวียงจันทน์ได้อพยพเข้ามาทางแม่น�้าชี แล้วลงหลักปักฐานในแถบ
           บ้านลุ่มล�าชี หนองนาแซง ฯลฯ ท�าให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรมและเกิดบ้านเกิดเมืองขึ้นหลายแห่ง
           เช่น คอนสวรรค์ ภูเขียว สี่มุม และเกษตรสมบูรณ์
                   จากเมืองเล็กๆ ท่เคยข้นกับนครราชสีมา ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
                                       ึ
                                  ี
                                                                                    ี
           รัชกาลท่ ๒ (ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗) ขุนนางชาวเวียงจันทน์คนหนึ่งท่ชื่อนายแล ได้พา
                  ี
           พรรคพวกมาต้งถ่นฐานในแถบนี้อีก จนบ้านเมืองเป็นปึกแผ่น กระท่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
                                                                    ั
                        ั
                          ิ
           นภาลัยพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้นายแลเป็นขุนภักดีและพระยาภักดีชุมพลในที่สุด
                                              ี
                  กับให้ยก “บ้านหลวง” อันเป็นพื้นท่ท่ลงตัวแล้วเป็นเมืองไชยภูมิ ให้พระยาภักดีชุมพลเป็นเจ้าเมือง
                                                ี
           ชัยภูมิคนแรก
                   ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์คิดขบถ
           พระยาภักดีชุมพลไม่เข้าด้วยกับเจ้าอนุวงศ์ จึงถูกเจ้าอนุวงศ์ประหารชีวิตเม่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ ทาให้ชาวชัยภูม  ิ
                                                                                      �
                                                                         ื
                                                                                     ื
           ยกพระยาภักดีชุมพลเป็นวีรบุรุษ นามว่า “เจ้าพ่อพญาแล” หลังจากน้ ชัยภูมิได้พัฒนาเร่อยมาจนได้รับ
                                                                      ี
           การจัดตั้งเป็นจังหวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๖
                   เร่องราวของชัยภูมิยังมีอีกยืดยาวพอสมควร แต่จากการสังเกตหนังสือเก่ยวกับชัยภูมิยังม  ี
                    ื
                                                                                   ี
                                                                                           ื
           ไม่มากนัก ส่วนใหญ่เน้นข้อเขียนเป็นหลัก มีภาพประกอบชัดบ้าง ไม่ชัดบ้าง เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง เม่อจ�าเป็น
           ต้องน�าไปใช้อ้างอิง ก็ท�าให้เกิดปัญหาเป็นอันมาก
           6   สมุดภาพชัยภูมิ
             Ÿ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13