Page 7 - :: สมุดภาพชัยภูมิ ::
P. 7
ค�านิยม
ั
จังหวัดชัยภูมิ ต้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บนสันขอบท่ราบสูงอีสาน ตรงบริเวณใจกลาง
ี
ี
�
ของประเทศ ประชากรหนาแน่น มีพื้นท่ใหญ่เป็นลาดับท่ ๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเป็น
ี
ี
อันดับ ๗ ของประเทศ ในอดีตเคยเป็นชุมชนโบราณท่มีผู้คนอยู่อาศัยจ�านวนมากตั้งแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี เป็นเส้นทางเดินทัพสาคัญท่กองทัพไทยยกไปต ี
ี
�
เวียงจันทน์ ชาวบ้านเรียกเส้นทางโบราณนี้ว่า “ทางเสด็จ” ในสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาคร้งท่ ๒ ถึงสมัย
ี
ั
ธนบุรี (พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕) ชัยภูมิกลายเป็นเมืองร้าง เนื่องจากผู้คนล้มตายในสงคราม ส่วนหนึ่งถูก
ึ
ต้อนไปในดินแดนชนะสงคราม ส่วนหน่งอพยพหลบหนีเข้าป่าเพื่อความปลอดภัย ปัจจุบันจังหวัดชัยภูม ิ
มีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นทั้งหมด ๑๖ อ�าเภอ มีการปกครองทั้งจากส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และการปกครองแบบท้องถิ่นในจังหวัดชัยภูมิ และได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์มาอย่าง
ยาวนาน มีพัฒนาการด้านต่างๆ รวมไปถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ความเชื่อ และประเพณีที่ส�าคัญต่างๆ
ึ
ซ่งสะท้อนผ่านการบันทึกภาพถ่าย การบอกกล่าว การเล่าสืบต่อกันมา อันเป็นบ่อเกิดซ่งความรัก
ึ
และความหวงแหนในความเป็นคนชัยภูมิ
ึ
ี
การจัดพิมพ์หนังสือ “สมุดภาพชัยภูมิ” เป็นการรวบรวมภาพถ่ายเก่าท่มีอายุ ๕๐ ปีข้นไป อาท ิ
ี
็
ภาพถ่ายบูรพมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ท่เสด็จจังหวัดชัยภูมิ ภาพประวัติศาสตร์และความเปนมา
ของจังหวัดชัยภูมิ ภาพเหตุการณ์บ้านเมืองอันส�าคัญในอดีต ภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ
หรือสิ่งของส�าคัญ สถานที่ส�าคัญ แหล่งชุมชน สภาพบ้านเมือง ภูมิสถาปัตย์ งานจิตรกรรม หัตถกรรม
และสถาปัตยกรรมท่ทรงคุณค่า ภาพศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต กลุ่มชาติพันธุ์ ภาพบุคคลสาคัญ
ี
�
�
�
ั
และผู้นาสาคัญทางศาสนาของจังหวัดชัยภูมิ ท้งนี้ เพื่อน�ามาเป็นคลังข้อมูลพื้นฐานของยุทธศาสตร์
�
การพัฒนาจังหวัดและส่งเสริมการท่องเท่ยวจังหวัดชัยภูมิ รวมถึงเป็นหลักฐานสาคัญในการศึกษา
ี
เรื่องราวของจังหวัดชัยภูมิได้อย่างดี
ี
ั
�
ี
ดิฉันขอกราบขอบพระคุณทุกท่านท่มีส่วนร่วมในการจัดทาหนังสือเล่มน้ ท้งพระสงฆ์ คหบด ี
ี
ข้าราชการ นักปราชญ์ และประชาชนผู้เป็นเจ้าของภาพในแต่ละท้องท่ รวมท้งคณะบรรณาธิการมืออาชีพ
ั
ั
ด้านนี้ ดิฉันเชื่อม่นว่าหนังสือ “สมุดภาพชัยภูมิ” จะยังประโยชน์แก่สาธารณชนท่วไปได้สมดังเจตนารมณ์
ั
ทุกประการ
นางสาวสุริยา สุระเสียง
วัฒนธรรมจังหวัดชัยภูมิ
วันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
สมุดภาพชัยภูมิ 5