Page 8 - :: สมุดภาพอุบลราชธานี ::
P. 8
อันที่จริงแล้ว อุบลราชธานีมีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน และมีบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ รวมทั้ง
เรื่องเบ็ดเตล็ดที่น่าพูดถึงมากมาย ค�าหลัก ๆ ที่เราคุ้นหูและไม่คุ้นหูนอกเหนือจากที่กล่าวในค�าขวัญประจ�าเมือง
ได้แก่ พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าค�าผง) นักรบและผู้ตั้ง “เมืองอุบล”
์
์
็
ี
�
์
พลตร พระเจ้าบรมวงศเธอ กรมหลวงสรรพสทธประสงค ขาหลวงต่างพระองคสาเรจราชการมณฑลลาวกาว
ิ
ิ
้
(มณฑลอีสาน)
พระอาจารย์ม่น ภูริทัตตะเถระ พระสงฆ์นักวิปัสสนา, พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) นักปราชญ์
ั
ผู้มีชื่อเสียง, สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส), พระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล
นายหนหวย (ศิลปชัย ชาญเฉลิม) นักจัดรายการวิทยุ นักเขียน, ศาสตราจารย์ นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว
ุ
ั
ิ
ิ
ิ
ั
ี
่
ื
ุ
่
ุ
ื
่
ั
ั
ิ
วดสปฏนารามวรวหาร, หอไตรวดทงศรเมอง, อโบสถ (สม) วดแจง, วดหนองปาพง, เขอนสรนธร, แกงตะนะ,
้
่
ั
แก่งสะพือ, ผาแต้ม เหล่านี้เป็นต้น
ท่ผ่านมาการจัดพิมพ์หนังสือประมวลข้อเขียนเก่ยวกับอุบลราชธานีมีอยู่มากพอสมควร หนังสือท่รวบรวม
ี
ี
ี
รายละเอียดเกี่ยวกับอุบลราชธานีทุกสาขาอย่างละเอียด คือหนังสือชื่อ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดอุบลราชธานี พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๔
ยังขาดก็แต่หนังสือในแนวสมุดภาพ ซึ่งหมายถึงหนังสือที่เน้นการประมวลภาพเป็นหลัก
�
ใน พ.ศ. ๒๕๖๖ นายชลธี ยังตรง ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เล็งเห็นความสาคัญของการทา
�
หนังสือสมุดภาพ ประกอบกับมีการจัดกิจกรรมในวาระ “๒๓๑ ปี อุบลราชธานี ฮุ่งเฮือง เมืองธรรม” จึงได้อนุมัติ
งบประมาณให้ด�าเนินการจัดท�าหนังสือชื่อ สมุดภาพอุบลราชธานี ขึ้น
�
�
ในการทาหนังสือดังกล่าว คณะทางานได้ขอความอนุเคราะห์จากทางวัด คนเก่าคนแก่ในแต่ละอาเภอ
�
ี
�
โดยช้แจงให้ทราบท่มาของการทาหนังสือจนเป็นท่เข้าใจกัน แล้วจึงลงมือบันทึกภาพตามหลักการท่วางไว้
ี
ี
ี
คือเน้นภาพขาวดารุ่นเก่าอันเป็นภาพรุ่นปู่ย่าตายายไว้ก่อน เพราะหนังสือมีจ�านวนหน้าจ�ากัด ส่วนภาพสีน้น
�
ั
ถือว่ายังรอได้ จึงอาจก๊อบปี้ไว้เป็นหลักฐานบ้างตามสมควร
คณะท�างานได้สอบถามรายละเอียดของภาพแต่ละภาพ ลงชื่อเจ้าของภาพทุกครั้งเพื่อเป็นการให้เกียรติ
ี
็
ี
ั
ื
และเป็นหลักฐานท่มาท่ไป เม่อถ่ายหรือก๊อบปี้เสรจ กคืนภาพเด๋ยวน้นเพื่อจะได้ไม่เกิดปัญหาการสูญหายหรือ
ี
็
สับสนปนเป
�
ิ
มีส่งสาคัญประจาจังหวัดอีกสองกลุ่มท่คณะทางานเห็นว่าควรผนวกไว้ด้วยเสมอ คือภาพจิตรกรรมฝาผนัง
ี
�
�
และข้าวของที่น่าสนใจตามที่ต่าง ๆ เพราะจิตรกรรมฝาผนังนั้น มักถูกแดดฝนท�าลาย หรือถูกผู้รู้เท่าไม่ถึงการณ์
ท�าความเสียหายอยู่เนือง ๆ หากไม่ได้บันทึกไว้ ภาพก็คงเสื่อมลงไปเรื่อย ๆ ท�าให้ชนรุ่นหลังไม่อาจเห็นมรดก
ที่บรรพบุรุษอุตสาหะสร้างไว้อย่างเต็มที่ได้
ี
ิ
ื
ส่วนส่งของเคร่องใช้ต่าง ๆ ก็มักเก็บอยู่ตามบ้าน หรือวัดวาอารามต่าง ๆ ยากท่คนภายนอกจะเข้าไปศึกษา
ชื่นชม ทางคณะจึงได้ขอความอนุเคราะห์ถ่ายภาพมาแสดงไว้เป็นที่ประจักษ์ตามสมควร
้
ี
ท้ายทสุดนีคณะทางานขอขอบคุณทุกท่านทร่วมกนสร้างงานอันลาค่าให้แก่จังหวัดอุบลราชธานี
่
�
้
ั
่
�
ี
อย่างเต็มใจ หวังว่าทุกท่านจะประสบแต่ความสุขความเจริญจากกุศลทาน วิทยาทานท่มอบให้แก่แผ่นดิน
ี
และหวังใจว่าจะมีการรวบรวมภาพส�าคัญของอุบลราชธานีอีกอย่างต่อเนื่อง
นายเอนก นาวิกมูล
วันอาทิตย์ที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
6 สมุดภาพอุบลราชธานี