Page 7 - :: สมุดภาพอุบลราชธานี ::
P. 7
ค�าน�า
ึ
อุบลราชธานี ประกอบด้วยเขตปกครองถึง ๒๕ อ�าเภอ ซ่งนับว่ากว้างใหญ่มาก ชายแดนของอุบลราชธานี
อยู่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านอีก ๒ ประเทศ คือ ลาวกับกัมพูชา
ี
คาขวัญประจาจังหวัดซึ่งช่วยให้มองเห็นภาพอุบลราชธานีอย่างรวบรัดท่สุดมีว่า “เมืองแห่งดอกบัวงาม
�
�
้
แม่นาสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามลาเทียนพรรษา
ิ
�
้
�
ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล”
เว็บไซต์ไกด์อุบล (www.GuideUbon.com) ให้ความรู้เรื่องค�าขวัญดังกล่าวไว้ดีมาก ตั้งแต่ช่วยเท้าความ
ี
่
�
ั
ั
ู
ิ
ั
ั
ื
้
ให้ทราบทมาของคาขวญประจ�าจังหวดต่าง ๆ เป็นเบองแรกว่ามาจากสมยรฐบาลพลเอก เปรม ตณสลานนท์
ั
ี
เป็นนายกรฐมนตรี ได้ประกาศให้ พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นปีแห่งการท่องเทยวไทย เพื่อให้นักท่องเท่ยวเกิดความรู้
่
ี
ความเข้าใจในแต่ละท้องถิ่น จึงได้ริเริ่มให้มีค�าขวัญประจ�าจังหวัดขึ้นโดยใช้ค�าคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จ�าได้ง่าย
ทางด้านอุบลราชธานี ทีแรกใช้ว่า “เมืองแห่งดอกบัวงาม แม่น�้าสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทราย
แก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฏร์ใฝ่ธรรม งามล�้าเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์”
�
ั
คาว่า “เมืองแห่งดอกบัวงาม” มีความหมายโดยนัย เป็นเมืองท่พระพุทธศาสนาประดิษฐานอย่างม่นคง
ี
ี
ดารงตลอดมากว่า ๒๐๐ ปี “ดอกบัว” คือความหมายแห่งความบริสุทธิ์ ความดีงาม ความเป็นสิริมงคล ท่ชาวอุบลราชธานี
�
มีความภาคภูมิใจยิ่ง
“แม่น�้าสองสี” เป็นจุดบรรจบของแม่น�้ามูลกับแม่น�้าโขง
�
�
้
�
้
้
้
“มีปลาแซบหลาย” จังหวัดอุบลราชธานีมีแม่นาไหลผ่านถึง ๓ สาย ได้แก่ แม่น�ามูล แม่นาชี และแม่นาโขง
จึงอุดมด้วยพันธุ์ปลานานาชนิด เป็นแหล่งอาหารธรรมชาติที่ส�าคัญของชาวอุบลฯ
“หาดทรายแก่งหิน” แหล่งท่องเท่ยวหลายแห่งในจังหวัดอุบลฯ มีหาดทรายและแก่งหินท่สวยงาม
ี
ี
แก่งสะพือ แก่งตะนะ หาดศรีภิรมย์ หาดวิจิตรา ฯลฯ
“ถิ่นไทยนักปราชญ์” สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) ได้แสดงปาฐกถาในงานบาเพ็ญกุศลศพ
�
ั
ี
่
สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (สน่น จนฺทปชฺโชโต) ตอนหนึงว่าท่าน (สมเด็จพระมหามุนีวงศ์) เกิดท่จังหวัดอุบลราชธาน ี
ึ
ี
ี
ซ่งเป็นจังหวัดของนักปราชญ์ เป็นท่น่าสังเกตว่า สมเด็จพระราชาคณะท่เป็นคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ล้วนแต่เป็นคนเกิดที่จังหวัดอุบลราชธานีทั้งสิ้น แม้แต่นักปราชญ์ที่มีความส�าคัญสูง เช่น ท่านเจ้าคุณ พระอุบาลี
ี
คุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ก็เป็นคนจังหวัดอุบลราชธานีเช่นเดียวกัน น่แสดงให้เห็นว่าอุบลราชธานีเป็น
เมืองนักปราชญ์โดยแท้
“ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม” ชาวอุบลฯ ปฏิบัติธรรมด้วยการ “ฟังเทศน์สามัคคี” โดยไม่มีการแบ่งแยกนิกาย
หรือคุ้มวัด นับเป็นเอกลักษณ์เฉพาะชาวอุบลฯ มาต้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๘ แม้จนถึงปัจจุบัน ก็ยังปฏิบัติกันอย่าง
ั
เคร่งครัด
“ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์” เป็นข้อความที่เพิ่มขึ้นภายหลังเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๒ เนื่องจากมีการค้นพบ
ื
ี
ี
�
ภาพเขียนสีประวัติศาสตร์ท่บันทึกเร่องราวของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ท่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อาเภอ
โขงเจียม
ต่อมาในปี ๒๕๕๗ มีการปรับปรุงค�าขวัญจังหวัดอุบลราชธานี โดยเพิ่มอีก ๒ วรรคสุดท้าย คือ “ฉลาด
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล”
“ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น” คืออุบลราชธานีมีช่อเสียงในด้านการทอผ้าพื้นเมือง และภูมิปัญญาทางด้าน
ื
หัตถกรรมมาช้านาน เช่น ผ้าทอเมืองอุบล เครื่องจักสาน และเครื่องทองเหลือง
ั
ี
“ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล” มาจากสมัยสงครามโลกคร้งท่ ๒ ชาวอุบลราชธานีได้ช่วยเหลือ
เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างมีน�้าใจ น�ามาสู่การสร้างอนุสาวรีย์แห่งความดีไว้ที่ทุ่งศรีเมือง
สมุดภาพอุบลราชธานี 5