Page 12 - :: สมุดภาพ เมืองระยอง ::
P. 12

๓. ชำกบก ๔. ตำขัน ๕. ตำสิทธิ์ (ปัจจุบันขึ้น อ.ปลวกแดง) ๖. บำงบุด (ปัจจุบันเขียนเป็น บางบุตร) ๗. บ้ำนเก่ำ
           (ยุบไปขึ้น ต.ตาขัน) ๘. มำบข่ำ (ปัจจุบันขึ้น อ.นิคมพัฒนา) ๙. ละหำน (ปัจจุบันขึ้น อ.ปลวกแดง) ๑๐. หนอง

           ละลอก ๑๑. หนองสะพำน

                  อำาเภอแกลง (ยุบลงเป็นอำาเภอขึ้นกับเมืองจันทบุรีราว พ.ศ. ๒๔๔๗ จากนั้นย้ายมาขึ้นกับเมือง
           ระยอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑)
                  ตั้งที่ว่ำกำรที่ ต.ทำงเกวียน ...จำกเมืองไปอ�ำเภอ ทำงที่สะดวกคือ โดยสำรเรือเมล์จำกปำกน�้ำระยอง

           ไปเข้ำปำกน�้ำประแส ถึงอ�ำเภอเวลำประมำณ ๖ ชั่วโมง ทำงบกก็ไปได้ด้วยเกวียนและม้ำ แต่ถ้ำเดินเท้ำก็รำว ๒ วัน
           ภูมิประเทศตอนกลำงและตอนใต้เป็นที่รำบ ตอนเหนือเป็นที่สูง พลเมือง...ท�ำนำ และท�ำกำรประมง อ�ำเภอนี้

           เดิมเป็นเมือง เรียกว่ำ เมืองแกลง ตั้งศำลำกลำงอยู่ใกล้วัดโพทอง  ..มี ๑๓ ต�ำบล คือ ๑. ทำงเกวียน ๒. กองดิน
           ๓. กล�่ำ ๔. คลองปูน ๕. ชำกกะโดน ๖. ชำกกะพง ๗. ทุ่งควำยกิน ๘. เนินฆ้อ ๙. บ้ำนนำ ๑๐. ประแส (ปัจจุบัน
           เรียก กระแสบน) ๑๑. ปำกน�้ำประแส ๑๒. พังรำด ๑๓. วังหว้ำ  ๒

                   เมื่อพิจารณาเขตตำาบลในอดีตเทียบกับปัจจุบันจะเห็นว่าเขตตำาบลและประชากรดั้งเดิมส่วนใหญ่นั้น
           อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ตอนกลางหรือตอนล่างของจังหวัด ส่วนอำาเภอที่ได้รับจัดตั้งขึ้นมาใหม่นั้น จัดตั้งขึ้นใน

           บริเวณตอนบนและด้านทิศตะวันตกของจังหวัด ตามการพัฒนาพื้นที่และเศรษฐกิจซึ่งเติบโตขึ้นจากการเพิ่ม
           เส้นทางคมนาคมทางบกหลายสาย ทั้งสายหลัก เช่น ถนนสุขุมวิท (ก่อน พ.ศ. ๒๕๐๐) ถนนสาย ๓๔๔ บ้านบึง -
           แกลง (พ.ศ. ๒๕๒๑) ถนนสาย ๓๖ บางละมุง - ระยอง (พ.ศ. ๒๕๒๑) และถนนสายรองอื่นๆ ซึ่งทำาให้เกิดการ

           เข้าถึงเขตตำาบลต่างๆ ได้สะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นผลมาจากการที่เศรษฐกิจการค้าเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว
           ภายหลังการเข้ามาของภาคอุตสาหกรรม ดังนี้

                  อำาเภอปลวกแดง (พ.ศ. ๒๕๒๒) โดยแยกเขตตำาบลจากอำาเภอบ้านค่าย ตั้งเป็นกิ่งอำาเภอใน พ.ศ. ๒๕๑๓
                  อำาเภอบ้านฉาง (พ.ศ. ๒๕๒๘) โดยแยกเขตตำาบลจากอำาเภอเมือง ตั้งเป็นกิ่งอำาเภอใน พ.ศ. ๒๕๑๙

                  อำาเภอวังจันทร์ (พ.ศ. ๒๕๓๔) โดยแยกเขตตำาบลจากอำาเภอแกลง ตั้งเป็นกิ่งอำาเภอใน พ.ศ. ๒๕๒๐
                  อำาเภอเขาชะเมา (พ.ศ. ๒๕๕๐) โดยแยกเขตตำาบลจากอำาเภอแกลง ตั้งเป็นกิ่งอำาเภอใน พ.ศ. ๒๕๓๖

                  อำาเภอนิคมพัฒนา (พ.ศ. ๒๕๕๐) โดยแยกเขตตำาบลจากอำาเภอบ้านค่าย ตั้งเป็นกิ่งอำาเภอใน พ.ศ. ๒๕๓๙
                  ที่มาของคำาว่า “ ระยอง”

                   มีผู้ศึกษา ไว้เป็นเบื้องต้นว่าเป็นคำาที่มาจากภาษาชองซึ่งมีภาษาพูดคล้ายคลึงกับภาษาเขมร เป็น
                          ๓
           ชนพื้นเมืองท้องถิ่นของภาคตะวันออก ดังปรากฏชาวชองอาศัยอยู่ในแถบจังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด ไปจนถึง

           ไพลินและกำาปอด ในประเทศกัมพูชา โดยแปลว่า ต้นประดู่ ซึ่งสอดคล้องกับบริเวณบ้านท่าประดู่ อันเป็นสถานที่ตั้ง
           ของที่ว่าการอำาเภอ แต่เดิมนั้นมีต้นประดู่ขึ้นอยู่มาก และคำาว่า “ระยอง” นั้นมีอีกความหมายหนึ่งของชาวชอง
           หมายถึงบริเวณที่เป็นเขตแดน ด้วยเมื่อเลยเขตตัวเมืองระยองไปทางทิศตะวันตกนั้น จะไม่พบชื่อสถานที่ๆ

           เป็นคำาในภาษาชองเลย ส่วนทางด้านทิศตะวันออกของอำาเภอเมืองระยองไปทางอำาเภอแกลงและจังหวัดจันทบุรีนั้น
           จะพบสถานที่ๆ เป็นภาษาชอง เช่น “เพ” ที่แปลว่า นาก “ประแสร์” ที่มาจากคำาว่า ฟรีแซร์ หรือ ปรีแซร์ ซึ่ง

           หมายถึง ป่าทุ่งนา รวมถึงคำาว่า “แกลง” ที่บางท่านบอกว่าแปลว่า แหวน และบางท่านบอกว่าแปลว่า ปลาดุก
                   คำาว่า ระยอง ในแผนที่ชาวยุโรป

                  จากการประมวลชื่อต่างๆ ในแผนที่เก่า ที่นักเดินเรือชาวยุโรปได้จัดทำาไว้นั้น พบว่าในสมัยอยุธยา
                                                    ๔
           ปรากฏคำาว่า ระยอง ในชื่อ Liant และกลุ่มคำาคล้ายๆ กัน ขึ้นกับการสะกดและการออกเสียง เช่น Lian, Liam,
           Iliam และยังถูกใช้เป็นชื่อแหลมแสมสาร (Cap. Lian, Cap Liam, Cap. Liant) เช่นกัน ซึ่งโดยความหมายคือ

           10   สมุดภาพเมืองระยอง
              Ÿ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17