Page 14 - :: สมุดภาพ เมืองระยอง ::
P. 14
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือ
พระที่นั่ง จำานวน ๕ ลำา รวมถึงเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช โดยมาดเส้น (หมายถึง ซุงไม้เนื้อแข็งขนาดใหญ่เป็น
เส้นยาวตรง ที่ได้รับการเหลาเพื่อนำามาสร้างเป็นเรือ) ที่ใช้ได้มาจาก เมืองจันทบุรี เมืองแกลง และเมืองระยอง
ซึ่งในอดีตนั้นจังหวัดระยองเป็นแหล่งป่าไม้ ที่สามารถนำามาใช้ในการต่อเรือ รวมถึงมีอู่ต่อเรืออยู่ในพื้นที่ตาม
ลำานำ้าหลัก เช่น แม่นำ้าระยอง แม่นำ้าประแสร์ แม้ว่าปัจจุบันจังหวัดระยองจะหมดสภาพความเป็นแหล่งป่าไม้ไป
แล้ว แต่หลักฐานการมีอยู่ยังคงปรากฏ ดังในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๔ ความว่า
“เกณฑ์มำดเส้น…พระยำวิไชยำธิบดีได้ที่ป่ำเมืองจันทบุรีล�ำ ๑ พระเทพสงครำมปลัดหำได้ที่ตะเคียนทอง
ล�ำ ๑ พระแกลงแกล้วกล้ำหำได้ที่ปลำยน�้ำเมืองแกลง ๒ ล�ำ พระอินทรอำสำ (ทุม) หำได้ที่ปลำยน�้ำเมืองรยอง
ล�ำ ๑ …พระอินทรักษำ (เป้ำ) หำได้ที่ปลำยน�้ำเมืองแกลง ล�ำ ๑ พระรำชภักดีสงครำม ผู้ว่ำรำชกำรเมืองระยอง
หำได้มำด ๑๘ วำที่ป่ำเมืองระยองล�ำ ๑” ๙
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) พระองค์เสด็จประพาสหัวเมือง
ชายทะเลภาคตะวันออกโดยเรือพระที่นั่ง มากกว่า ๑๐ ครั้ง ซึ่งเอกสารชุดพระราชหัตถเลขาฯ และข่าวการเสด็จ
ประพาสดังกล่าว ถือเป็นข้อมูลที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ จากการสืบค้นรวบรวมพบว่าสถานที่ต่างๆ ในเขต
จังหวัดระยองปัจจุบัน ปรากฏอยู่ในเอกสารการเสด็จประพาสฯ รวม ๗ ครั้ง คือ พ.ศ. ๒๔๑๙ พ.ศ. ๒๔๒๓
๑๒
๑๑
พ.ศ. ๒๔๒๖ พ.ศ. ๒๔๒๗ พ.ศ. ๒๔๓๐ พ.ศ. ๒๔๔๓ พ.ศ. ๒๔๔๔ ตัวอย่างสถานที่ๆ เสด็จ
๑๓
๑๖
๑๗
๑๕
๑๔
ประพาส ได้แก่ ตัวเมืองระยอง ปากนำ้าระยอง เกาะเสก็ด เกาะเสม็ด แหลมทองหลาง ปากนำ้าประแสร์ โดยเฉพาะ
ที่บ้านปากนำ้าประแสร์นั้น ปรากฏในพระราชหัตถเลขาว่า พระองค์โปรดให้สร้างพระอุโบสถและจัดตั้งขึ้นเป็นวัด
พร้อมพระราชทานนามให้กับวัดสมมติเทพฐาปนาราม ตามความในพระราชหัตถเลขา ดังนี้
“...เรือมำทอดที่ตรงปำกน�้ำพแสซึ่งเป็นที่พระแกลงแกล้วกล้ำอยู่ …ลงเรือเล็ก...ลำกเข้ำไป...จนตลอดพ้น
หมู่บ้ำน... กลับมำพักที่หัวแหลมซึ่งมี…เมืองแกลงท�ำค้ำงไว้ พ้นปร�ำใบไม้ที่เขำท�ำไว้รับที่นั้นเห็นว่ำภูมิฐำนงำม
จึงได้สั่งให้สร้ำงท�ำขึ้นประกอบกับพระเจดีย์เดิม ให้ชื่อไว้ว่ำ วัดสมมติเทพถำปนำรำม...” ๑๔
ทำาเนียบบรรดาศักดิ์กรมการเมือง
ในประมวลกฎหมายตราสามดวงระบุว่า นามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองระยองในสมัยอยุธยาตอนต้น
(พ.ศ. ๑๙๙๗) ว่าเป็นขุนนางชั้นออกพระ คือ ออกพระราชภักดีศรีสงคราม แต่เอกสารทั่วไปในชั้นหลังรวม
ถึงในพระราชพงศาวดารต่างๆ มักจะเรียกโดยตำาแหน่งว่า พระระยอง หรือ พระยาระยอง ตามบรรดาศักดิ์
ที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตามเชื่อว่านามบรรดาศักดิ์ “พระราชภักดีศรีสงคราม” นี้ น่าจะได้ใช้ต่อเนื่องมาจนถึงรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารฯ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ว่าทรงโปรดฯ
ให้แปลงนามบรรดาศักดิ์ เจ้าเมืองระยองจาก พระราชภักดีศรีสงคราม เป็น พระศรีสมุทโภค และยังทรง
๗
แปลงนามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองแกลงจาก พระแกลงกล้าหาญ มาเป็น พระแกลงแกล้วกล้า สำาหรับนาม
บรรดาศักดิ์กรมการเมืองในทำาเนียบ ตำาแหน่งอื่นๆ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ตามที่ได้สืบค้นเรียบเรียงไว้ มีดังนี้ ๘
เมืองระยอง เมืองแกลง
จางวางกำากับราชการเมือง พระนัคโรประการ พระพฤฒาธิคุณวิบูลย์ภักดี
ผู้สำาเร็จราชการ/ผู้ว่าราชการเมือง พระยาศรีสมุทโภค พระแกลงแกล้วกล้า
ปลัดเมือง หลวงราชภักดีศรีสงคราม หลวงชำานาญบุรีรมย์
ยกกระบัตรเมือง หลวงเสนาราชภักดี หลวงศรียกกระบัตร
ผู้ช่วยราชการเมือง หลวงภักดีบริรักษ์ หลวงวิชิตภักดี
ปลัดจีน หลวงจีนาธิกรณ์กิจ -
12 สมุดภาพเมืองระยอง