Page 9 - :: สมุดภาพนครน่าน ::
P. 9

ส่วนท่านที่อยากทราบูประวัติและความส�าคัญของน่านอย่างกระชับู ขอให้อ่านงานเขียนเรื่อง

                        น่าน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์และสังคมเมือง โดยอาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม ซึ่งตีพิมพ์ต่อจาก
                        หน้าค�าน�า
                              ปัญหาส�าคัญคือการขาดหนังสือ “สมุดภาพ” ที่จะท�าหน้าที่รวบูรวมภาพเก่าทั�งหลายของจังหวัด
                        ให้มาอยู่ในที่เดียวกัน

                              ที่ผ่านมาหนังสือส่วนใหญ่มักเน้นตัวหนังสือเป็นหลัก เท่ากับูให้ตัวหนังสือเป็นพระเอก ส่วน
                        ภาพประกอบูเป็นแค่ตัวเสริม คือเป็นพระรอง จะชัดไม่ชัด เล็กหรือใหญ่ก็ไม่มีใครถือสา เราจึงเห็นภาพ
                        บูุคคลส�าคัญที่ไม่คมชัด ถูกตัดส่วนจนเสียรูป หรือเห็นแผนที่ที่ควรจะขยายใหญ่ให้เห็นชื่อหมู่บู้านต�าบูล
                        ชัดๆ มีขนาดแค่โปสการ์ดอยู่ในหนังสือหลายเล่ม

                              การท�าสมุดภาพเป็นเรื่องส�าคัญมาก เพราะจะช่วยสร้างความเข้าใจให้แก่ผู้อ่านได้เร็วขึ�น ได้เห็น
                        หน้าตาผู้คน ภาพสถานที่ เหตุการณิ์ และอื่นๆ ทันที โดยไม่ต้องเสียเวลาจินตนาการ ที่คนทั่วไปไม่ค่อย
                        อ่านหนังสือประวัติศาสตร์ หรือพงศาวดารเล่มหนาๆ ก็เพราะหนังสือเหล่านั�นมีแต่ตัวหนังสือทาง
                        วิชาการเกินไป ไม่ชวนอ่าน และไม่ท�าให้เกิดความทรงจ�าที่ดีเท่ากับูการได้เห็นภาพประกอบู

                              ใน พ.ศ. ๒๕๖๖ นายชัยนรงค์ วงศ์ใหญ่ ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน ได้เล็งเห็นความส�าคัญของ
                        การท�าสมุดภาพ จึงได้ประสานงานและผลักดันให้มีการจัดท�าสมุดภาพนครน่านขึ�น คณิะบูรรณิาธิการ
                        จึงได้รวบูรวมภาพถ่ายต่างๆ ไปตามระบูบูที่วางไว้คือ
                              เน้นภาพถ่ายเก่ายุคขาวด�าเป็นหลัก เพราะต้องการเก็บูภาพยุคปู่ย่าตายายไว้ก่อน ก๊อบูปี�ภาพ

                        เดี�ยวนั�น คืนเดี�ยวนั�น เพื่อมิให้เกิดปัญหาภาพสูญหายหรือคลาดเคลื่อน
                              ภาพที่จะน�ามาตีพิมพ์ต้องมีความคมชัด จึงต้องเป็นภาพต้นฉบูับูดั�งเดิม ไม่ใช่ภาพก๊อบูปี�เป็น
                        ชั�นที่สองที่สาม
                              ให้เครดิตหรือให้เกียรติเจ้าของภาพด้วยการลงชื่อก�ากับูไว้เสมอ เพื่อผู้อ่านหรือคนรุ่นหลังจะ

                        ได้ทราบูว่าต้นฉบูับูนั�นมาจากใคร ไม่ใช่ได้มาอย่างเลื่อนลอย ขาดหลักวิชาการ
                              ในส่วนหลังของหนังสือ ได้ลงภาพจิตรกรรมฝาผนังและข้าวของส�าคัญของจังหวัดไว้ด้วยเพื่อ
                        ให้เห็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่นอกเหนือไปจากภาพถ่าย กับูลงหมายเหตุการท�างานและรายชื่อ
                        ผู้ให้ความอนุเคราะห์ทุกๆ คน เพื่อระลึกถึงความร่วมแรงร่วมใจในการท�างานเพื่อส่วนรวม

                               ในการรวบูรวมภาพ ทางคณิะบูรรณิาธิการได้รับูความร่วมมือจากชาวน่าน และแหล่งภาพ
                        ต่างๆ อย่างดียิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าสมปรารถนา ณิ น่าน กับูคุณิสถาพร สุริยา ส�านักหอจดหมายเหตุ
                        แห่งชาติ โรงเรียนน่านคริสเตียนศึกษา เทศบูาลต�าบูลเวียงสา และหอภาพถ่ายล้านนา ด�าเนินงาน
                        โดยศาสตราจารย์กันต์ พูนพิพัฒน์ ซึ่งเคยสอนที่คณิะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้

                        เอื�อเฟื�อภาพจากชาวน่านมากถึง ๒๕ ครอบูครัว
                               ขอบูคุณิคุณิศรีสกุล โลหะโชติ (ใหญ่) ผู้แนะน�าแหล่งข้อมูลและพาไปบู้านชาวน่านหลายแห่ง
                        ขอบูคุณิคุณิเชิดชู เต็งไตรรัตน์ เจ้าของภาพเก่า ขอบูคุณิคุณิบูุษกร จีนะเจริญ อดีตหัวหน้าพิพิธภัณิฑ์น่าน
                        อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม ปราชญ์ท้องถิ่นผู้เขียนความรู้พื�นฐานของน่าน ขอบูคุณิคุณิเสถียร ชาติพงศ์

                        นายช่างใหญ่แห่งกรมทางหลวงที่กรุณิามอบูหนังสือเกี่ยวกับูน่านให้หลายเล่ม และทุกท่านที่อาจกล่าว
                        นามไม่ทั่วถึง ขอให้ทุกท่านได้รับูความสุขความเจริญจากกุศลกรรมที่ร่วมกันมอบูวิทยาทานในครั�งนี�

                                                                                                เอนก นาวิกมูล

                                                                                วันจันทร์ที่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๗



                                                                                               สมุดภาพินครั้น่าน   7
                                                                                                              Ÿ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14