Page 7 - :: สมุดภาพนครน่าน ::
P. 7

ค�าน�า






                              น่านมีภูมิประเทศอันงดงามและมีความเป็นมาที่ยาวนานมาก เมืองหลายเมืองไม่มีพงศาวดารหรือ
                        ประวัติเมืองแบูบูยาวๆ แต่น่านมี เห็นได้จากหนังสือ พิงศาวดารั้เมืองน่าน ที่พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช
                        (พ.ศ. ๒๓๗๔-๒๔๖๑) พระเจ้านครน่านโปรดให้ “แสนหลวงราชสมภาร” แต่งเมื่อ ร.ศ. ๑๑๓ พ.ศ. ๒๔๓๗

                        เป็นหนังสือหนาถึง ๒๐๐ กว่าหน้า
                              เนื�อหาภาคแรกกล่าวถึงการสร้างล้านนาไทยก่อน ภาคที่ ๒ กล่าวถึงราชวงศ์ภูคาสร้างเมือง
                        ย่างและเมืองปัว หรือเวียงวรนคร แล้วย้ายเมืองจากเวียงวรนครมาสร้างเวียงภูเพียงแช่แห้ง การย้ายเมือง
                        จากเวียงภูเพียงแช่แห้งมาสร้าง ณิ ที่เป็นตัวจังหวัดน่านในปัจจุบูัน การเป็นเมืองประเทศราชภายใต้

                        การปกครองของอาณิาจักรเชียงใหม่และอาณิาจักรพม่า ภาคที่ ๓ กล่าวถึงการขึ�นกับูกรุงเทพฯ
                        การท�าศึกกับูเจ้าอนุเวียงจันทน์ การท�าศึกสิบูสองปันนา การสร้างพระไตรปิฎก จนไปจบูตอนเจ้าสุริยพงษ์
                        ผริตเดชเป็นเจ้าราชวงศ์
                              หนังสือเล่มนี�ตีพิมพ์ครั�งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ เพื่อแจกในงานปลงพระศพพระเจ้าสุริยพงษ์

                        ผริตเดช สมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพโปรดให้น�าไปรวมอยู่ในหนังสือชุดประชุมพงศาวดาร
                        ภาคที่ ๑๐ เป็นเอกสารส�าคัญที่ถูกอ้างอิงเมื่อต้องเขียนถึงน่านเสมอ
                              น่านอยู่ห่างไกลจากกรุงเทพฯ มากก็จริง แต่ไม่น่าเชื่อว่าน่านกับูกรุงเทพฯ จะมีความใกล้ชิด
                        กันไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช ผู้ติดต่อกับูทางกรุงเทพฯ มากที่สุด

                        มีพระประวัติที่โดดเด่น น่าศึกษาที่สุด
                              พิรั้ะเจ้าสุรั้ิยพิงษ์ผรั้ิตเดช ประสูติเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๔ ถึงแก่พิราลัยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ พระชนมายุ
                        ๘๘ ปี ทรงมีความเข้มแข็ง มีพระปรีชาสามารถมาก ทรงเคยเป็นเจ้าอุปราชนครน่าน จนถึงพ.ศ. ๒๔๔๖
                         จึงได้เป็นเจ้าผู้ครองนครน่าน

                              ทรงตัดถนน สร้างโรงเรียน สร้างที่ท�าการไปรษณิีย์โทรเลข สร้างศาลาว่าการเมือง บูริจาคทรัพย์
                        สร้างและบููรณิะวัดมากมาย
                              พระประวัติตอนหนึ่งให้เกร็ดว่าในสมัยพระบูาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔
                        พ.ศ. ๒๓๙๖ ได้ตามเสด็จฯ พระเจ้าบูรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิทไปราชการทัพเมืองเชียงตุง

                        รวมเวลาไปมานานถึง ๗ เดือนเศษ
                              พ.ศ.  ๒๓๙๘ น�าตัวพญาหลวงบูังโคม พญาเมืองเชียงรุ้งลงมาเฝ้าพระบูาทสมเด็จพระจอมเกล้า
                        เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ที่กรุงเทพฯ รวมเวลาไปมา ๔ เดือนเศษ
                              พ.ศ. ๒๓๙๙ ไปกวาดต้อนครัวเรือนลื�อในเมืองพง เขตสิบูสองปันนา ซึ่งอยู่ในบูังคับูฮ่่อให้

                        เข้ามาอยู่ในเขตเมืองน่าน ตั�งภูมิล�าเนาที่เมืองเชียงม่วนและเมืองเชียงค�า รวมใช้เวลาไปมา ๕ เดือน
                              พ.ศ. ๒๔๐๖ และ พ.ศ. ๒๔๑๖ คุมตัวระมาดเพศเมียลงมาถวายรัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕
                        ตามล�าดับู รวมเวลาไปมาคราวละ ๔ เดือนเศษ
                              พ.ศ. ๒๔๓๐ ขึ�นไปจัดรวบูรวมเสบูียงอาหารที่เมืองเชียงค�า ส่งกองทัพนายพลโท เจ้าพระยา

                        สุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) คราวปราบูฮ่่อเมืองหลวงพระบูาง และได้ร่วมไปในกองทัพด้วย
                        ใช้เวลาไปมาราว ๔ เดือนเศษ
                              ร.ศ. ๑๒๑ พ.ศ. ๒๔๔๕ จัดเจ้านายบูุตรหลานท้าวพญาเมืองน่านไปช่วยปราบูการจราจลใน
                        มณิฑลพายัพ แม้อยู่เมืองไกลก็ไม่ได้คิดแก่ความล�าบูาก อุตส่าห์ฝ่าทางกันดารลงมาเฝ้าทูลละออง

                        ธุลีพระบูาทเนืองๆ ผิดกับูเจ้านครเมืองน่านแต่ก่อนๆ มา ท�าให้พระบูาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
                        รัชกาลที่ ๕ ทรงกรุณิาสนิทชิดชอบูพระราชอัธยาศัยเป็นอันมาก





                                                                                                สมุดภาพินครั้น่าน   5
                                                                                                              Ÿ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12