Page 8 - :: สมุดภาพนครน่าน ::
P. 8

น่านมีเจ้าผู้ครองนคร ๖๔ องค์ องค์สุดท้ายคือเจ้ามหาพรหมสุรธาดา (ครองเมืองระหว่าง พ.ศ.

           ๒๔๖๑-๒๔๗๔ รวม ๑๓ ปี) พระอนุชาของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช
                  ในปัจจุบูัน สิ่งที่ช่วยให้เห็นเอกลักษณิ์ หรือจุดเด่นของน่านอย่างกระชับูคือ “แข่งเรือลือเลี่อง
           เมืองงาช้างด�า จิตรกรรมวัดภูมินทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง”
                 ซึ่งหมายถึงประเพณิีแข่งเรือประจ�าปีในแม่น��าน่านช่วงเดือนตุลาคม หลังออกพรรษา นับูเป็น

           งานใหญ่
                 งาช้างด�า ซึ่งเจ้านายบูุตรหลานของเจ้าผู้ครองนครน่านมอบูไว้ให้แก่แผ่นดินเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔
           ปัจจุบูันจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณิฑสถานแห่งชาติน่าน
                 จิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ ๔ - ๕ ในโบูสถ์และวิหาร (พื�นที่เดียวกัน) วัดภูมินทร์กลางเมืองน่าน

           ที่แสดงวิถีชีวิตของคนไว้อย่างน่าชม ภาพที่ถูกพูดถึงมากคือภาพหนุ่มสาวส่งสายตาให้กัน มีบูันทึก
           ตัวอักษรล้านนาสีขาวเหนือภาพว่า “ปู่ม่านย่าม่าน” ปัจจุบูันเรียกกันว่า ภาพิกรั้ะซิิบรั้ัก
                 ส้มสีทอง คือส้มเขียวหวานที่มีผิวสีเหลืองทอง รสหวานอมเปรี�ยว
                 และพระธาตุแช่แห้ง คือพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อัญเชิญมาจากสุโขทัย อยู่ในวัดพระธาตุแช่แห้ง

                 ความจริงแล้ว น่านมีสิ่งที่น่าสนใจอีกมากมายทั�งทางด้านประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม
           และธรรมชาติ เช่น
                 วัดพระธาตุเขาน้อย อยู่บูนเนินเขาที่ไม่สูงนัก เมื่อขึ�นไปแล้วจะมองเห็นทิวทัศน์อันงดงามของ
           น่านโดยรอบู

                 วัดพระธาตุช้างค��าวรวิหาร เดิมชื่อวัดหลวงกลางเวียง เป็นวัดหลวงประจ�าราชส�านักน่าน
           บูนเจดีย์มีรูปช้างโดยรอบู มีหอไตรซึ่งว่ากันว่าใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
                 วัดหนองบูัว อ�าเภอท่าวังผา มีจิตรกรรมฝาผนังแสดงวิถีชีวิตชาวน่านคล้ายวัดภูมินทร์
                 วัดต้นแหลง เป็นวัดเก่าแก่ของอ�าเภอปัว มีวิหารแบูบูไทลื�อที่งดงามแปลกตา

                 อุทยานแห่งชาติดอยภูคา มีต้นชมพูภูคา พันธุ์ไม้หายากของโลก
                 บู่อเกลือ อ�าเภอบู่อเกลือ มีโรงต้มเกลือที่ท�ากันมาแต่โบูราณิ ยูเนสโกบูันทึกว่าเป็น ๑ ใน
           ๒๙ แห่งทั่วโลก และ ๑ ใน ๙ แห่งของเอเชียที่มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับูประเพณิีพิธีกรรมของเกลือ
                 สมรภูมิทุ่งช้าง อ�าเภอทุ่งช้าง มีอนุสาวรีย์ร�าลึกถึงวีรกรรมของพลเรือน ต�ารวจ ทหาร ๖๒๘ คน

           ที่พลีชีพปกป้องผืนแผ่นดินไทยในสมัยต่อสู้กับูลัทธิคอมมิวนิสต์ ฯลฯ
                 น่านแบู่งการปกครองเป็น ๑๕ อ�าเภอ คือ อ�าเภอเมืองน่าน อ�าเภอเวียงสา อ�าเภอนาน้อย
           อ�าเภอนาหมื่น อ�าเภอบู้านหลวง อ�าเภอแม่จริม อ�าเภอสันติสุข อ�าเภอท่าวังผา อ�าเภอสองแคว
           อ�าเภอปัว อ�าเภอบู่อเกลือ อ�าเภอเชียงกลาง อ�าเภอทุ่งช้าง อ�าเภอเฉลิมพระเกียรติและอ�าเภอภูเพียง

           อีกทั�งมีเทศบูาลในจังหวัดน่าน ๘ แห่ง
                 หนังสือยุคปัจจุบูันที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับูน่านค่อนข้างละเอียด ได้แก่หนังสือชื่อ วัฒนธรรม
           พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์์และภูมิปัญญาจังหวัดน่าน ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๔
                 หนังสือชื่อ พระเจ้านครน่าน จังหวัดทหารบูกน่านจัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๒

                 ถ้าเราอยากรู้ว่าเคยมีคนเขียนถึงน่านไว้มากน้อยเพียงใด อาจค้นได้ง่ายๆ จากบูรรณิานุกรมท้ายเล่ม
           ของหนังสือดังยกตัวอย่างมานี� นอกจากนั�น ยังต้องดูงานส�ารวจของกรมศิลปากรและวารสาร
           เมืองโบูราณิด้วย เพราะหน่วยงานทั�งสองจะน�าเสนอและตีพิมพ์งานค้นคว้าเกี่ยวกับูสถานที่ต่างๆ
           อยู่เสมอ






       6   สมุดภาพินครั้น่าน
         Ÿ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13