Page 105 - สมุดภาพ กรมทางหลวง ยุคแรก เนื่องในโอกาส ๑๐๙ ปี กรมทางหลวง ๒๔๕๕-๒๕๖๔
P. 105

การสร้างสะพานไม้ขนาดใหญ่ข้ามล�าน�้าในพื้นที่
        ภาคอีสาน (ไม่ทราบสถานที่) มีการพูนดินเป็นเนิน
            สูงกว่าระดับพื้นดินปกติ แล้วสร้างสะพานให้มี
             ความสูงเสมอกันมารองรับ เพื่อให้ถนนไม่ถูก
          น�้าท่วมถึงในฤดูน�้าหลาก ถ่ายเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
                       โดยเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่
                     (ภาพจากนายศักดิ์ชัย พนาวรรต)


         Construction of a large wooden bridge across a
         river in the Northeast. On two sides were earth
         slopes of the bridge approaches, to join up with
      the elevated wooden structure, in order to keep the
         bridge passable during high tide. The photograph
              was taken in 1940 by Chao Kawilawong

                   na Chiangmai. (Sakchai Phanawat)



               การสร้างสะพานไม้ขนาดใหญ่ข้ามล�าน�้า
                  ในพื้นที่ภาคอีสาน (ไม่ทราบสถานที่)
              เป็นสะพานไม้อย่างมาตรฐานของกองทาง
            ยุคแรก สามารถรองรับการสัญจรของรถยนต์ได้
            ถ่ายเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยเจ้ากาวิละวงศ์ ณ
            เชียงใหม่ (ภาพจากนายศักดิ์ชัย พนาวรรต)


               Construction of a large wooden bridge

                     across a river in the Northeast.
                     The bridge was a standard one
               by the Department of Ways, and could
              carry automobile traffic across the river.

                  The photograph was taken in 1940
                by Chao Kawilawong na Chiangmai.
                              (Sakchai Phanawat)





              สะพานไม้ขนาดใหญ่ข้ามล�าน�้าชี (แม่น�้าชี)
                เมื่อแรกสร้างที่บ้านท่าพระ อ�าเภอเมือง

             จังหวัดขอนแก่น เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทาง
              สายนครราชสีมา – ขอนแก่น (ปัจจุบันคือ
                 ทางหลวงหมายเลข ๒ ถนนมิตรภาพ)
            ถ่ายเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ โดย
                         เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่
                    (ภาพจากนายศักดิ์ชัย พนาวรรต)




                                                                                                     103 I 103
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110