Page 12 - :: สมุดภาพอุดรธานี ::
P. 12
(๖) ได้คิดดูในต�าบลนี้ก็อยู่นอก ๒๕ กิโลมิเตอร์ ตามแผนที่ฝรั่งเศส ซึ่ง ม.ปาวี เปนผู้ท�าส่งพระราชทานขึ้นไป บ้านนี้
อยู่ในอายันต์เหนือ ๑๗ องษา ๒๗ นาที อายามตวันออกของปารีศ ๑๐๐ องษา ๒๒ นาที แต่ที่จะพูดกับอ้ายฝรั่งเศสเป็นมนุษย์
ี
้
�
ื
ด้อๆ ด้านๆ ปราศจากความอายแล้วก็คงจะทาให้ขุ่นเคืองฝ่าละอองธุลีพระบาทได้ จึงปฤกษาตกลงกันว่าควรจะไปตั้งท่บ้านน�าฆ้อง
เมืองกุมภวาปีดีกว่า คงจะได้ประโยชน์เหมือนกับบ้านเดื่อหมากแค่งทุกอย่าง”
พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม ทรงด�ารงต�าแหน่งข้าหลวงต่างพระองค์ ส�าเร็จราชการมณฑล ประทับ
ปกครองมณฑลลาวพวน ณ บ้านหมากแข้ง ก่อตั้งบ้านเมืองและวางระเบียบแบบแผนการปกครองระบบเทศาภิบาล และจัดเก็บ
ภาษีอากรแบบใหม่ รวมทั้งการย้ายสถานที่บัญชาการมณฑลมาตั้งที่บ้านหมากแข้ง ซึ่งเป็นไปอย่างเรียบร้อย ใน พ.ศ. ๒๔๔๒
�
�
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กลับกรุงเทพฯ ดารงตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
พร้อมกับทรงสถาปนาพระยศขึ้นเป็น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม
หลังจากท่พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่นประจักษ์ศิลปาคม เสด็จกลับกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ื
ี
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าวัฒนาด�ารงต�าแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลอุดร แล้วทรงสถาปนาพระยศขึ้นเป็น
พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา ใน พ.ศ. ๒๔๔๓ และในปีเดียวกันนั้นได้มีการเปลี่ยนชื่อมณฑลลาวพวน (พ.ศ. ๒๔๔๒ ใช้ชื่อ
มณฑลฝ่ายเหนือ) เป็นมณฑลอุดร และแบ่งการปกครองออกเป็น ๕ บริเวณ คือ บริเวณหมากแข้ง บริเวณภาชี บริเวณธาตุพนม
บริเวณสกลนคร และบริเวณน�้าเหือง
พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนาทรงดารงตาแหน่งข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลอุดรอยู่จนถึง พ.ศ. ๒๔๔๙ จึงทรง
�
�
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (โพ เนติโพธิ์) เป็นสมุหเทศาภิบาลส�าเร็จราชการมณฑลอุดรสืบต่อมา
สมเด็จฯ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพครั้งด�ารงต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้เสด็จตรวจราชการมณฑลอุดร
และมณฑลอิสาณ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ ทรงเล่าถึงเมืองอุดรในขณะนั้นว่า “เวลานี้ที่ว่าการมณฑล ที่ว่าการอ�าเภอ ศาล เรือนจ�า
�
�
โรงทหาร โรงพักตารวจภูธร ออฟฟิศไปรสนีย์โทรเลข และบ้านเรือนข้าราชการอยู่ติดต่อเปนระยะๆ ลาดับกันไป มีตลาดขายของสด
�
้
้
ั
�
�
และมีตึกอย่างโคราชของพ่อค้านายห้างบ้าง มีวัดเรียกวัดมัชฌิมาวาศต้งอยู่บนเนินและมีบ่อนาใหญ่สาหรับราษฎรได้ใช้นา
ทุกฤดูกาลด้วย มีบ้านราษฎรมาตั้งอยู่หลังบ้านข้าราชการบ้าง มีถนนตัดตรงๆ ไปตามท่ต้งท่ทาการ และร้านตลาดเหล่านี้หลายสาย
ี
ี
ั
�
ี
ี
ึ
ึ
ื
และเม่อใกล้เวลาข้าพเจ้าจะมาคราวน้ มณฑลได้ตัดถนนตั้งแต่หลังท่ว่าการไปจนหนองนาเกลือเพิ่มข้นอิกสายหน่ง และเม่อร้อ
ื
ื
ที่ว่าการบัดนี้ไปตั้งบนเนินใกล้หนองนาเกลือตามความตกลงใหม่ ถนนสายนี้จะบรรจบกับถนนเก่าเปนถนนยาวและงามมาก”
ั
ึ
ื
คร้นเม่อบ้านหมากแข้งขยายชุมชนใหญ่มากข้น ประจวบกับใน พ.ศ. ๒๔๕๐ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวง
มหาดไทยรวมหัวเมืองในมณฑลอุดรเข้าเป็นเมืองจัตวา จึงได้มีการรวมเมืองกมุทาไสย เมืองกุมภวาปี เมืองหนองหาร อ�าเภอ
บ้านหมากแข้ง ตั้งเป็นเมืองจัตวา เรียกว่า “เมืองอุดรธานี” และเป็นท่ตั้งท่ว่าการมณฑลอุดร และใน พ.ศ. ๒๔๕๙ พระบาทสมเด็จ
ี
ี
�
ั
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปล่ยนคาว่า “เมือง” เป็นจังหวัด ตั้งแต่น้นเมืองอุดรธานี จึงมีสถานะเป็น
ี
้
“จังหวัดอุดรธานี” ประกอบดวยอ�าเภอหมากแข้ง อ�าเภอเพ็ญ อ�าเภอหนองหาร อ�าเภอหนองบัวล�าภู อ�าเภอกุมภวาปี และอ�าเภอ
บ้านผือ
ั
คร้น พ.ศ. ๒๔๗๖ ได้มีการปรับปรุงระเบียบการบริหารราชการแผ่นดิน ยกเลิกการปกครองในรูปแบบมณฑล ให้จัดการ
บริหารราชการในส่วนภูมิภาคเป็นรูปแบบจังหวัดและอาเภอ ด้วยเหตุนี้มณฑลอุดรจึงถูกยุบไป เหลือเพียงการปกครองในรูปแบบ
�
จังหวัดอุดรธานีนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
จนถึง พ.ศ. ๒๕๐๗ หลังจากที่สงครามเวียดนามได้ปะทุขึ้น ฐานบินอุดรได้เป็นส่วนหนึ่งในที่ตั้งกองก�าลังทางอากาศ
ของฐานทัพสหรัฐอเมริกา ทหารสหรัฐได้เข้ามาประจ�าการที่จังหวัดอุดรธานี ส่งผลท�าให้จังหวัดอุดรธานีเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น
�
อย่างมาก ท้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีการจ้างงานจ�านวนมากในฐานบินอุดร ทาให้มีการอพยพแรงงานจ�านวนมากจาก
ั
ชนบทและจังหวัดใกล้เคียงเข้ามาในเขตชุมชนเมืองอุดรธานี เป็นเหตุให้จังหวัดอุดรธานีเกิดการขยายตัวของชุมชนเมืองและ
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
ปัจจุบันจังหวัดอุดรธานีแบ่งการปกครองออกเป็น ๒๐ อ�าเภอ และก�าลังจะก้าวสู่ปีที่ ๑๓๐ ใน พ.ศ.๒๕๖๖ นับตั้งแต่
แรกต้ง จังหวัดอุดรธานีได้มีพัฒนาการและความเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก จากศูนย์กลางด้านความม่นคงกลายมาเป็น
ั
ั
ศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจและเป็นจุดยุทธศาสตร์ในด้านการคมนาคมขนส่งของภาคอีสานตอนบน และจะส่งต่อความเจริญก้าวหน้า
ที่มั่นคงให้ลูกหลานในอนาคตสืบไป
10 สมุดภาพอุดรธานี