Page 10 - :: สมุดภาพอุดรธานี ::
P. 10

พื้นภูมิเมืองอุดรธานี




                                                                                   โดย นายหัตธไชย ศิริสถิตย์

                                                                                                    ี
                 จังหวัดอุดรธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ท่ตั้งอยู่บริเวณตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ หรือท่เรียกว่า
                                                ี
           อีสานเหนือ ห่างจากกรุงเทพมหานครตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ หรือถนนมิตรภาพ เป็นระยะทางประมาณ ๕๖๒ กิโลเมตร
           จังหวัดอุดรธานีมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดหนองคายทางทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์ทางทิศใต้
                                                                             �
           ติดต่อกับจังหวัดสกลนครทางทิศตะวันออก และติดต่อกับจังหวัดเลยและหนองบัวลาภูทางทิศตะวันตก ภูมิประเทศของ
                        ั
           จังหวัดอุดรธานีต้งอยู่ในบริเวณแอ่งสกลนคร พื้นท่ส่วนใหญ่เป็นพื้นท่ราบ มีแนวเทือกเขาภูพานน้อยวางตัวเป็นแนวยาวใน
                                                                ี
                                                  ี
           แนวทิศเหนือใต้ของจังหวัดและถือเป็นเส้นกั้นเขตแดนธรรมชาติกับจังหวัดข้างเคียง
                  จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และการขุดค้นทางโบราณคดี พบว่าในบริเวณพื้นที่ของจังหวัดอุดรธานีในปัจจุบันได้มี
           มนุษย์ตั้งถิ่นฐานมาอย่างยาวนาน จากการขุดพบโครงกระดูก ภาชนะดินเผาลายเขียนสีและโบราณวัตถุอื่นๆ ที่บ้านเชียง ต�าบล
           บ้านเชียง อ�าเภอหนองหาน และร่องรอยภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ปรากฏเป็นภาพฝ่ามือ ภาพมนุษย์ ภาพสัตว์และ
                                                                                          �
                                                                                         ี
                                                                 �
                                                                             ึ
           ภาพรูปทรงเรขาคณิต พบในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อาเภอบ้านผือ ซ่งเป็นหลักฐานท่ทาให้เห็นว่าในบริเวณ
           จังหวัดอุดรธานีได้มีมนุษย์อาศัยอยู่มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์อย่างน้อยเมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว
                    ื
                  เม่อเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ราวพุทธศตวรรษท่ ๑๒ - ๑๖ ชุมชนเร่มมีการรวมกลุ่มกันเป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีการติดต่อ
                                                                  ิ
                                                     ี
           กับชุมชนภายนอก พบว่ามีการรับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาในวัฒนธรรมทวารวดีเข้ามา ดังปรากฏสถานที่ประกอบพิธีกรรม
                    ี
           ทางศาสนาท่มีการปักใบเสมาหินทรายเพื่อแสดงถึงเขตพื้นท่ศักด์สิทธ์ เช่นกลุ่มใบเสมาหินทรายในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์
                                                        ี
                                                           ิ
                                                               ิ
           ภูพระบาท กลุ่มใบเสมาหินทรายวัดโนนศิลาอาสน์วนาราม กลุ่มใบเสมาหินทรายวัดพระพุทธบาทบัวบาน ในอาเภอบ้านผือ และ
                                                                                             �
           กลุ่มใบเสมาหินทรายวัดพระธาตุดอนแก้ว อ�าเภอกุมภวาปี อีกทั้งพบพระพุทธรูปศิลปะทวารวดีเช่นพระพุทธรูปหินทรายที่พบ
           ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทและพระพุทธรูปหินทรายปางสมาธิ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ท่วัดศรีสระแก้ววราราม
                                                                                         ี
           บ้านนาอ้ายใหญ่ อ�าเภอกุดจับ
                                  ี
                  ในราวพุทธศตวรรษท่ ๑๖ - ๑๘ อาณาจักรขอมหรืออาณาจักรเขมรโบราณได้ขยายอิทธิพลเข้ามาสู่บริเวณภาคตะวันออก
           เฉียงเหนือของไทยในปัจจุบัน ท�าให้พบร่องรอยวัฒนธรรมเขมรในพื้นที่อุดรธานีที่ส�าคัญหลายแห่ง อาทิ ปรางค์กู่แก้ว ตั้งอยู่ที่
                                    �
                          �
           วัดกู่แก้วรัตนาราม ตาบลบ้านจีต อาเภอกู่แก้ว เป็นศาสนสถานก่อด้วยศิลาแลง สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานประจ�าอโรคยาศาลา
                                            ั
                                                                                             ี
           หรือโรงพยาบาล เมืองโบราณหนองหาน ต้งอยู่บริเวณตัวอาเภอหนองหาน เป็นเมืองโบราณท่มีผงเมองรูปสเหล่ยมตามแบบ
                                                                                   ี
                                                                                                 ี
                                                        �
                                                                                     ั
                                                                                             ่
                                                                                        ื
                                                                                    ี
                                                                    ี
                                                                         ึ
                           �
           อารยธรรมเขมร มีคูนาและคันดินล้อมรอบเมือง การวางผังเมืองในลักษณะน้เป็นหน่งในสองแห่งท่ค้นพบในบริเวณแอ่งสกลนคร
                           ้
           คือที่เมืองโบราณหนองหานแห่งนี้และเมืองโบราณสกลนคร อ�าเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
                  ภายหลังเม่ออาณาจักรเขมรเส่อมอานาจลงเม่อปลายพุทธศตวรรษท่ ๑๘ อาณาจักรล้านช้างได้ขยายดินแดนเข้ามา
                          ื
                                         ื
                                             �
                                                     ื
                                                                      ี
           ครอบคลุมในบริเวณลุ่มน�้าโขง ในราว พ.ศ. ๒๑๐๓ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงย้ายเมืองหลวงจากเมืองหลวงพระบางมาตั้งที่
           นครเวียงจันทน์ พร้อมกับทรงให้มีการท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนา ศิลปกรรม วัฒนธรรม ส่งผลให้วัฒนธรรมล้านช้างเจริญรุ่งเรือง
           เป็นอย่างมากในเวลานั้น
                  บริเวณพื้นท่ของอุดรธานีจึงได้กลายเป็นส่วนหน่งของวัฒนธรรมล้านช้าง ดังปรากฏหลักฐานสาคัญกระจายอยู่หลาย
                           ี
                                                                                         �
                                                      ึ
           แห่ง อาทิ อูบมุงครอบรอยพระพุทธบาท วัดพระพุทธบาทบัวบาน ต�าบลเมืองพาน อ�าเภอบ้านผือ พระธาตุดอนแก้ว วัดมหาธาตุ
           เจดีย์ ต�าบลกุมภวาปี อ�าเภอกุมภวาปี พระธาตุบ้านหนาด วัดพระธาตุบ้านหนาด ต�าบลนาบัว อ�าเภอเพ็ญ พระธาตุนางเพ็ญ
                                                                                                       �
                     �
           วัดเกาะแก้ว ตาบลเพ็ญ อ�าเภอเพ็ญ พระธาตุวัดศรีเจริญโพนบก ตาบลบ้านธาตุ อ�าเภอเพ็ญ พระพุทธรูปศิลปะล้านช้าง วัดจาปา
                                                            �
           บ้านนาพู่ ต�าบลนาพู่ อ�าเภอเพ็ญ พระพุทธรูปศิลปะล้านช้าง วัดโพธิ์ชัย บ้านดอนแตง ต�าบลนาข่า อ�าเภอเมืองอุดรธานี เป็นต้น
                  ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมื่ออาณาจักรล้านช้างอ่อนแอลง ท�าให้อิทธิพลวัฒนธรรมล้านช้างเริ่มเสื่อมลงจากดินแดน
           ภาคอีสาน และภายหลังศึกเจ้าอนุวงศ์สิ้นสุดลงใน พ.ศ. ๒๓๗๑ บริเวณพื้นที่ที่อยู่ในอิทธิพลของราชส�านักเวียงจันทน์ ซึ่งรวมถึง
           บริเวณพื้นที่ของจังหวัดอุดรธานีในปัจจุบันก็ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชส�านักสยามนับแต่นั้น
                                                                                         ั
                  คร้น พ.ศ. ๒๔๒๘ เกิดเหตุพวกฮ่อได้เข้ามาปล้นสะดมประชาชนและเข้ายึดเมืองหัวพันห้าท้งหก พระบาทสมเด็จ
                    ั
           พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายพันเอก พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่นประจักษ์ศิลปาคม ยกทัพ
                                                                                     ื
                                                                         ั
           ไปปราบฮ่อในแขวงเมืองพวน โดยได้ตั้งกองบัญชาการอยู่ ณ เมืองหนองคาย คร้นเหตุการณ์เรียบร้อยเป็นปกติแล้ว จึงทรง
           พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กองทัพของกรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคมกลับคืนมายังกรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐
           8   สมุดภาพอุดรธานี
             Ÿ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15