Page 11 - :: สมุดภาพอุดรธานี ::
P. 11

ี
                                                            �
                                                                                             �
                      ใน พ.ศ. ๒๔๓๓ ช่วงเวลานั้นดินแดนอินโดจีนกาลังถูกคุกคามจากชาติมหาอ�านาจยุโรปท่กาลังออกล่าอาณานิคม
                                                                   �
               ในภูมิภาคน้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงดาเนินการจัดรูปแบบการปกครองในอีสานและลาวท่อยู่ใน
                         ี
                                                                                                          ี
                                                                                                        �
                                                                                             �
                                                                                            ี
               พระราชอาณาจักรสยามให้เหมาะสม โดยแบ่งการปกครองเป็น ๔ เขต คือ หัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออกมีท่ทาการอยู่นครจาปาศักด  ิ   ์
               หัวเมืองลาวฝ่ายตะวันออกเฉียงเหนือมีท่ทาการอยู่เมืองอุบลราชธานี หัวเมืองลาวฝ่ายกลางมีท่ทาการอยู่เมืองนครราชสีมา และ
                                                                                      ี
                                                                                       �
                                              ี
                                               �
               หัวเมืองลาวฝ่ายเหนือมีที่ทาการอยู่เมืองหนองคาย
                                    �
                      ต่อมา พ.ศ. ๒๔๓๔ ได้มีการเปล่ยนแปลงเขตการปกครองในอีสานและลาวอีกคร้ง โดยหัวเมืองลาวฝ่ายเหนือได้เปล่ยน
                                              ี
                                                                                  ั
                                                                                                            ี
               เป็นหัวเมืองลาวพวน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่น
                                                                ี
               ประจักษ์ศิลปาคม เป็นข้าหลวงใหญ่ และหม่อมเจ้าวัฒนา ข้าหลวงท่ ๒ ไปจัดราชการหัวเมืองลาวพวน ประจ�าอยู่ ณ เมืองหนองคาย
                      จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๕ ได้มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินเป็นอย่างใหม่ มีการจัดรูปแบบปกครองในหัวเมืองข้นใหม  ่
                                                                                                          ึ
                                        ้
                                        ึ
                                                                          ี
                                             ั
                                           ู
                                ั
                                                                                       ั
                         ั
                           ั
                                                                                          ื
                                ้
                       ั
                                                                                                          ี
                                                                                                   ่
                                                                                                     ู
                                                                                                   ี
                                                                                                             ั
               รวมการบงคบบญชาทงปวงให้ขนอย่กบกระทรวงมหาดไทยเพียงกระทรวงเดยว และให้รวมหวเมองต่างๆ ทอย่ใกล้เคยงกน
                               ั
               เข้าเป็นมณฑล ดังน้นหัวเมืองลาวพวนจึงถูกเปล่ยนชื่อเป็นมณฑลลาวพวน มีพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่นประจักษ์ศิลปาคม
                                                    ี
                                                                                                ื
               เป็นข้าหลวงผู้ส�าเร็จราชการมณฑลลาวพวนคนแรก
                                                                 ั
                      คร้นเม่อเกิดกรณีพิพาทเร่องดินแดนระหว่างสยามกับฝร่งเศส หรือท่เรียกว่าวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖)
                                          ื
                                                                          ี
                           ื
                        ั
               ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิเหนือดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น�้าโขงซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นของเขมรและญวณ ฝรั่งเศสได้ส่งเรือปืน ๒ ล�าเข้ามา
               ในปากแม่น�าเจ้าพระยาโดยมาจอดทอดสมออยู่ท่หน้าสถานทูตฝร่งเศสในกรุงเทพฯ และบีบบังคับให้สยามยอมลงนามในสนธิสัญญา
                                                               ั
                        ้
                                                   ี
               กับฝร่งเศส เม่อวันท่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ ซึ่งผลของสนธิสัญญาน้นทาให้ดินแดนบนฝั่งซ้ายของแม่นาโขงและเกาะต่างๆ
                               ี
                          ื
                                                                                                ้
                                                                     ั
                    ั
                                                                        �
                                                                                                �
               ตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และในสนธิสัญญาเงื่อนไขข้อที่ ๓ ได้ระบุไว้ว่า “คอเวอนแมนต์สยามจะไม่ก่อสร้างค่ายคู ฤๅที่อยู่
               ของพลทหารในแขวงเมืองพระตะบอง แลเมืองเสียมเรียบ แลในจังหวัด ๒๕ กิโลเมตร (๖๒๕ เส้น) บนฝั่งขวาฟากตวันตกแม่น�้า
               โขง” นอกจากนี้ยังมีข้อก�าหนดในสัญญาน้อย ผนวกท้ายสัญญาเกี่ยวกับการถอนทหาร ข้อที่ ๒ ระบุไว้ว่า “บรรดาป้อมค่ายคู อัน
               อยู่ในจังหวัดที่กล่าวไว้ในข้อที่ ๓ ของหนังสือสัญญาฉบับใหญ่ที่ท�าไว้ในวันนี้แล้ว จะต้องรื้อถอนเสียให้สิ้น...”
                                                ั
                                   ี
                      จากสนธิสัญญาท่สยามได้ทากับฝร่งเศสนี้เอง เป็นเหตุให้พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่นประจักษ์ศิลปาคม จาต้องย้าย
                                                                                                       �
                                           �
                                                                                      ื
                                                             ื
                                      ี
                                                                                                       �
                ี
                                                                        ึ
               ท่บัญชาการมณฑลลาวพวนท่เมืองหนองคายมาตั้งยัง “บ้านเด่อหมากแข้ง” ซ่งก็คือบริเวณพื้นท่ของต�าบลหมากแข้ง อาเภอเมือง
                                                                                      ี
                                                                                           ื
                                               �
               อุดรธานีในปัจจุบัน มีระยะทางห่างจากแม่นาโขงประมาณ ๕๐ กิโลเมตร โดยพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่นประจักษ์ศิลปาคมได้แจ้ง
                                               ้
                                                                                ี
               ผ่านทางโทรเลขไปยังกระทรวงมหาดไทย ความว่า “ได้ยกออกจากเมืองหนองคายในวันท่ ๑๖ มกราคม ได้เดินทางถนนรัชฎาภิเษก”
               และอีกฉบับว่า “ได้ยกมาถึงบ้านหมากแค่ง วันที่ ๑๘ มกราคม” จึงถือว่าพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคมได้เสด็จ
                                     ี
                                                                                      ั
                      ื
               ถึงบ้านเด่อหมากแข้งในวันท่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๖ ตามปีปฏิทินไทย และถือว่าเป็นวันก่อต้งเมืองอุดรธานีอย่างเป็นทางการ
               นับแต่นั้นเป็นต้นมา
                      สาเหตุที่ทรงเลือกเอาบริเวณบ้านเดื่อหมากแข้งเป็นที่ตั้งที่บัญชาการมณฑลลาวพวนนั้น พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่น
                                                                                             ี
                                                                               ื
                                                                                                      ี
               ประจักษ์ศิลปาคมทรงได้มีจดหมายกราบบังคมทูลช้แจงถึงประโยชน์ของตาบลบ้านเด่อหมากแข้งก่อนท่จะทรงย้ายท่บัญชาการ
                                                                       �
                                                      ี
               จากเมืองหนองคายมายังบริเวณบ้านเดื่อหมากแข้ง ความว่า
                      “(๑) ถ้าฝรั่งเศสคิดข้ามมาจับฟากข้างนี้แล้วคงจะจับเมืองหนองคายก่อน เพราะเปนเมืองบริบูรณ์ ถ้ามาจับหนองคาย
               แล้วจะได้มาโต้ทันเวลา
                      (๒) บ้านนี้ระยะทางกึ่งกลางที่จะไปมาบังคับราชการเขตลาวพวนได้ตลอด
                      (๓) โทระเลขในแขวงลาวพวนต้องมารวมในบ้านนี้ทั้งสิ้น
                                      ่
                                     ่
                            ี
                                                                                                ้
                                                                                                          ้
                                                                                                             ู
                                                                                       ็
                      (๔) เสบยงอาหารแตกอนมาเขาทจะเลยงไพรพลนัน ดวยเมองลาวหาไดเกบเงนคานาไม เกบแตหางเขาตามพรรณเขาปลก
                                                                                           ่
                                                                          ้
                                                  ้
                                                             ้
                                              ่
                                              ี
                                                                 ื
                                                          ้
                                                  ี
                                                                           ็
                                                                                ่
                                                                              ิ
                                            ้
                                                       ่
                                                                                     ่
                ึ
                                                  ี
               ข้นฉางไว้ ถ้ามีข้าหลวงฤๅกองทัพก็ต้องจ่ายเล้ยงข้าหลวงแลกองทัพ ถ้าส้นเข้าคงฉางแล้ว จึงต้องจ่ายเงินหลวงจัดซ้อเพิ่มเติม
                                                                                                       ื
                                                                       ิ
               ถ้าข้าหลวงตั้งอยู่เมืองน้อยๆ เข้าไม่พอก็ต้องจัดซื้อ ไม่ได้ใช้ขนเข้าเมืองอ่นมาเจือจาน ท่ต�าบลบ้านนี้เปนบ้านอยู่ในระหว่างเมืองหนองคาย
                                                                 ื
                                                                            ี
                                                                             ี
               เมืองหนองหาร ขอนแก่น เมืองกุมภวาปี เมืองกมุทาไสย จะได้ใช้เสบียงเมืองเหล่าน้ ไม่ต้องออกเงินหลวงให้เปลืองพระราชทรัพย์
                                                                         ี
                                                                          ้
                      (๕) เมืองสกลนคร แม้ว่าจะเป็นท่ภูมิถานใหญ่โตสบายก็จริง แต่ในปีน้น�าท่วมเสบียงอาหารเสียส้น ถ้าจะยกกองข้าหลวง
                                              ี
                                                                                             ิ
                                             ี
                                                                                      ึ
                                                         ึ
               ไปตั้งก็จะต้องเสียเงินมาก แลจะไม่มีท่ซื้อเข้าด้วย อน่งระยะทางโทระเลขต้งแต่กรุงเทพฯ ข้นไปหนองคาย อย่างเร็ว ๘ วัน
                                                                         ั
               อย่างช้า ๑๒ วัน ถ้าที่เมืองสกลนคร โทระเลขจะต้องอย่างเร็ว ๑๔ วัน อย่างช้า ๑๘ วัน
                                                                                            สมุดภาพอุดรธานี   9
                                                                                                           Ÿ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16