Page 8 - •-- สมุดภาพเพชรบูรณ์ --•
P. 8
คณะกองบรรณาธิการสำานักพิมพ์ต้นฉบับเข้าคารวะ
นายกฤษณ์ คงเมือง ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
เพื่อหารือแนวทางในโครงการจัดทำาหนังสือสมุดภาพ
เพชรบูรณ์ ณ ห้องทำางาน ศาลากลางจังหวัดเพชรบูรณ์
(จากซ้าย นายสุปรีดิ์ ณ นคร นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์
นายกฤษณ์ คงเมือง นายเอนก นาวิกมูล และนางวรรณา
นาวิกมูล)
ทรงเล่าถึงยาสูบเพชรบูรณ์ว่ามีคุณภาพดีมาก ต้นลานก็มีมาก เล่าถึงชาวหล่มสักว่าเป็น
้
ี
ื
ไทยลานช้างหรือลาวพุงขาวเหมือนชาวมณฑลอุดร เล่าเร่องเรือมาดท่ใช้ไม้หนาสำาหรับเดินในแม่นำา
ื
สัก ลากเข็นได้ดีกว่าเรือต่อ เล่าเร่องตัวป๊อกเจี๋ยกในป่า แต่ท่สำาคัญคือเร่องการไปสำารวจค้นหา
ี
ื
ี
ี
เมืองศรีเทพ ซ่งเป็นเมืองโบราณยุคขอม ท่ปัจจุบันกลายเป็นสถานท่ท่องเท่ยวอันกว้างใหญ่และ
ี
ึ
สง่างามของเพชรบูรณ์
เด๋ยวนี้เพชรบูรณ์มีความเจริญรุดหน้ามาก ตัวเมืองใหญ่โต มีผู้คนร้านรวงมากมาย และ
ี
ี
ี
ิ
สะอาด ถนนกว้างขวาง ไปมาสะดวกทุกอำาเภอ ส่งสำาคัญท่ดึงดูดให้คนจากต่างถิ่นไปเย่ยมเพชรบูรณ์
กันมากก็คือภูมิประเทศที่มีทิวเขาอันสวยงาม อากาศบริสุทธิ์ หายใจได้เต็มปอด ได้ไปพักแล้วรู้สึก
เพลินตาสบายใจ อยากจะกลับไปเยี่ยมอีก
จังหวัดเพชรบูรณ์มีรูปร่างคล้ายฝักมะขามสั้นๆ แบ่งส่วนการปกครองออกเป็น ๑๑ อำาเภอ
เรียงจากเหนือลงใต้คือ ๑. อำาเภอหล่มเก่า ๒. อำาเภอนาหนาว ๓. อำาเภอเขาค้อ ๔. อำาเภอหล่มสัก
ำ
้
๕. อำาเภอวังโป่ง ๖. อำาเภอเมืองเพชรบูรณ์ ๗. อำาเภอชนแดน ๘. อำาเภอหนองไผ่ ๙. อำาเภอ
บึงสามพัน ๑๐. อำาเภอวิเชียรบุรี ๑๑. อำาเภอศรีเทพ
ั
้
ึ
ถ้าเราขับรถขนไปจากอำาเภอชัยบาดาล จังหวดลพบุรี จะพบว่าเพชรบูรณ์มีทิวทัศน์
สวยงามไปตลอดทาง เพราะทางซ้ายมีเทือกเขาพระพุทธบาทและเทือกเขาบรรทัดเป็นฉากหลัง
ื
ทางขวามีเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นฉากหลัง เทือกเขาเหล่านี้ดูไม่น่าเบ่อ ชวนให้ฝันถึงภาพ
ี
สวยๆ ตามจินตนาการของแต่ละคน ทางซ้ายของเพชรบูรณ์เป็นดินแดนของจังหวัดในท่ราบคือ
ู
นครสวรรค์-พิจิตร-พิษณุโลก ทางขวาเปนท้งภเขาและท่ราบคือชัยภูมิและขอนแก่น ส่วนตอนเหนือ
ั
็
ี
ของเพชรบูรณ์คือจังหวัดเลย
ึ
การทำาสมุดภาพประจำาจังหวัดต่างๆ กำาลังเป็นอีกงานหน่งท่กระทรวงมหาดไทยเห็นความ
ี
สำาคัญ นอกเหนือจากการดูแลบำาบัดทุกข์ บำารุงสุขอันเป็นหน้าที่หลัก
ปลัดกระทรวงมหาดไทยคนปัจจุบันคือนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ เห็นว่าสมุดภาพจะเป็นเคร่อง
ื
ี
ช่วยสำาคัญในการประมวลภาพบุคคล เหตุการณ์ สถานท่ ประเพณีวัฒนธรรมของจังหวัดนั้นๆ เอาไว้
ให้สามารถศึกษาค้นคว้าได้ง่าย ในขณะที่งานรวบรวมข้อเขียนได้ทำาไปมากพอสมควรแล้ว แต่การ
ทำาสมุดภาพยังทำากันน้อย จึงได้สนับสนุนให้ทางจังหวัด หรือองค์การบริหารส่วนจังหวัดทำาสมุดภาพ
ี
อย่างเป็นกิจจะลักษณะโดยให้ภาพเป็นตัวหลัก แทนท่จะเป็นแค่ตัวประกอบ ลงชัดบ้างไม่ชัดบ้าง
อย่างในสมัยก่อน
6 สมุดภาพเพชรบูรณ์