Page 10 - •-- สมุดภาพเพชรบูรณ์ --•
P. 10
พื้นภูมิเมืองเพชรบูรณ์
โดย ดร.วิศัลย์ โฆษิตานนท์
้
ี
จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นดินแดนประวัติศาสตร์บนลุ่มนำาป่าสัก ท่ปรากฏหลักฐานการค้นพบทางโบราณคด ี
ของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในหลายพื้นที่ เช่น อำาเภอเมืองเพชรบูรณ์ หล่มสัก หนองไผ่ วังโป่ง ชนแดน
ิ
วิเชียรบุรีและศรีเทพ โดยเฉพาะอย่างย่งคือ บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพได้ปรากฏร่องรอยของหลาย
ื
อารยธรรมทับซ้อนกันอยู่ในสถานท่เดียวกัน นับว่าเป็นชุมชนท่มีความเจริญรุ่งเรืองต่อเน่องกันมายาวนานนับ
ี
ี
ื
ึ
ื
พันปี ซ่งได้ขุดพบโครงกระดูกและเคร่องมือเคร่องใช้มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ จารึกอักษรปัลลวะและเทวรูปฮินด ู
โบราณ อีกทั้งยังมีโบราณสถานสมัยทวารวดี ได้แก่ เขาคลังใน เขาคลังนอก และเขาถมอรัตน์ และโบราณสถาน
สมัยขอม ได้แก่ ปรางค์ศรีเทพ ปรางค์สองพี่น้อง และปรางค์ฤๅษี นอกจากนั้นยังพบแท่งศิลาจารึกหินทรายที่
มีการจารึกครั้งแรกตั้งแต่ พ.ศ. ๑๕๖๔ ไว้ด้วยอักษรขอม ภาษาสันสกฤต สันนิษฐานว่านำามาจากเมืองศรีเทพ
ปัจจุบันนี้ได้อัญเชิญมาตั้งเป็นเสาหลักเมืองเพชรบูรณ์
ี
เพชรบูรณ์เป็นดินแดนแห่งวีรกษัตริย์ “พ่อขุนผาเมือง” เจ้าเมืองราด (มีข้อสันนิษฐานว่าอยู่ท่หล่มสัก) ผู้ม ี
ั
คุณูปการในการร่วมก่อต้งอาณาจักรสุโขทัยร่วมกับพ่อขุนบางกลางหาว เจ้าเมืองบางยาง (พ่อขุนศรีอินทราทิตย์)
ี
ตามศิลาจารึกหลักท่ ๒ วัดศรีชุม และในสมัยสุโขทัยน้เอง มีหลักฐานว่าเพชรบูรณ์ได้มีความเจริญตั้งเป็นบ้านเมือง
ี
อย่างมั่นคงแล้ว ดูจากศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหงหลักที่ ๑ กล่าวถึงเมือง “ลุมบาจาย” (เชื่อว่าคือ หล่มเก่า) และ
ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๙๓ วัดอโศการาม ได้มีการกล่าวไว้ว่า เมืองวัชชปุระ (สันนิษฐานว่าคือเมืองเพชรบูรณ์)
ุ
ั
ิ
ุ
ี
ั
้
ั
ั
เป็นเขตรฐสมาของกรงสโขทัยด้านตะวนออกเฉียงใต้ นอกจากนันยงปรากฏแนวคนดนคนาตาม (แนวถนนสน
ู
ำ
้
ั
คูเมืองในปัจจุบัน) ท่สร้างไว้เพื่อป้องกันเมืองในสมัยน้น และหลักฐานทางโบราณคดีท่สำาคัญอีกช้นหนึ่งคือ จารึก
ิ
ี
ี
ั
ี
ลานทองคำาท่พบในเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ สมัยสุโขทัย ในวัดมหาธาตุ เมืองเพชรบูรณ์ ท่จารึกไว้เม่อ พ.ศ. ๑๙๒๖
ื
ี
ได้ระบุถึงชื่อเมืองเพชรบูรณ์ว่า “เพชบุร” ซึ่งได้มีการตีความคำาว่า “เพช” น่าจะมาจากคำาว่า “พีช” (พี-ชะ) อันเป็น
คำาบาลีแปลว่า “พืช” ฉะนั้น ชื่อเมืองเพชรบูรณ์ในยุคแรกคงมีความหมายถึงเมืองแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหารนั่นเอง
ี
และชื่อดังกล่าวนี้ยังมีปรากฏในหลักฐานเอกสารยุคต่อๆ มาอีกด้วย คือแผนท่ไตรภูมิพระร่วงในสมัยต้นกรุง
ศรีอยุธยา แผนที่เดินทัพสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และตำาราพิชัยสงครามเมืองเพชรบูรณ์ ฉบับพรหมบุญ ด้วย
เขียนชื่อเมืองเพชรบูรณ์ในอดีตว่า “เพชบูรร”
สมัยกรุงศรีอยุธยา แผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏหลักฐานว่า เพชรบูรณ์เป็นหัวเมืองชั้นโท
มีหน้าที่นำาทัพในการศึกสงครามด้านเมืองลาว มีชื่อเจ้าเมืองว่า พระยาเพชรรัตน์สงคราม มีศักดินา ๑๐,๐๐๐ ไร่
ี
ั
นอกจากน้น ยังปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี คือกำาแพงเมืองเก่าของเมืองเพชรบูรณ์ท่สร้างในช่วงกรุงศรีอยุธยา
ตอนกลาง เป็นกำาแพงเมืองท่มีการก่ออิฐถือปูนประกอบด้วยศิลาหินทราย มีป้อมปราการท้ง ๔ มุมและประตู
ี
ั
ี
ั
ุ
ู
ี
ั
ี
ทางเข้าเมอง และมเจดย์สมยอยธยาหลายองค์คอ เจดย์ทรงปรางค์ค่หน้าโบสถ์วดมหาธาต เจดย์ทรงปรางค์
ื
ื
ี
ุ
วัดพระแก้วและวัดไตรภูมิ เจดีย์ทรงระฆังที่วัดพระสิงห์ (วัดร้าง) นอกจากนั้น ยังมีโบสถ์และพระพุทธรูปศิลปะ
สมัยอยุธยาประดิษฐานอยู่ภายในวัดหลายแห่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ เช่น วัดมหาธาตุ วัดไตรภูมิ วัดช้างเผือก
วัดโพธิ์กลางนางั่ว และวัดต่างๆ ในตำาบลนายม เป็นต้น
ั
ทงนี ตามประวติศาสตร์ท้องถ่นเชือว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้ทรงเคยเสด็จเดินทพผ่านจังหวัด
ั
ั
ิ
่
้
้
ี
ั
เพชรบูรณ์เพื่อไปตีเมืองเขมร จึงได้มีการสร้างศาลสมเด็จพระนเรศวรฯ ไว้ ณ บริเวณน้น ในพื้นท่ของอำาเภอ
ี
วิเชียรบุรี และในช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา ปรากฏหลักฐานเอกสารในคำาให้การขุนหลวงวัดประดู่ทรงธรรมท่กล่าวถึง
8 สมุดภาพเพชรบูรณ์