Page 11 - •-- สมุดภาพเพชรบูรณ์ --•
P. 11

ี
               สภาพบ้านเมืองท่แสดงว่าเพชรบูรณ์เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมสินค้าของป่าจากหัวเมืองต่างๆ ส่งออกผ่าน
                                                                                �
                                              ี
               กรุงศรีอยุธยา ดังนี้ “...เรือหางเหย่ยวเมืองเพชรบูรณ์นายม บรรทุกคร่ง กายาน เหล็กหางกุ้ง เหล็กหล่มเลย
                                                                             ั
               เหล็กน�้าพี้ ไต้ หวาย ชัน น�้ามันยาง ยาสูบ เขา หนัง หน่องา สรรพสินค้าตามเพศบ้านเพศเมือง มาจอดเรือขาย
               ตามแถวปากคลองสวนพลู ตลอดจนหน้าวัดเจ้าพระนางเชิง...”

                      ในสมัยกรุงธนบุรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในขณะนั้นดำารงตำาแหน่งเป็น

                                                ี
                                                                                                      ี
               เจ้าพระยาจักรี ได้นำาทัพต่อสู้กับพม่าท่พิษณุโลก ต่อมาเสบียงขาดแคลน จึงได้ล่าทัพมาสะสมเสบียงท่เพชรบูรณ์
               ก่อนจะเดินทัพกลับไปต่อสู้กับพม่า ได้ทรงเสด็จมานมัสการพระพุทธรูปเอาฤกษ์เอาชัยท่วัดมหาธาตุ คร้งพอเสด็จ
                                                                                                      ั
                                                                                          ี
               ออกมายังไพร่พลก็ได้เปล่งเสียงเรียกขวัญว่า “มีชัย” ๓ ครั้ง พระพุทธรูปองค์นั้นจึงได้ชื่อว่า “หลวงพ่อเพชรมีชัย”
               มาจนทุกวันนี้

                      สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ มีกล่าวในพงศาวดารรัชกาลท่ ๓ ได้มีบันทึกการสู้รบในคร้งศึกเจ้าอนุวงศ์แห่ง
                                                                                             ั
                                                                    ี
               เวียงจันทน์ ที่เมืองเพชรบูรณ์และเมืองหล่มสัก ซึ่งได้เป็นสมรภูมิการศึกระหว่างทัพไทยกับทัพลาวที่สำาคัญด้วย
                                                                                      ึ
                                        ี
               แห่งหน่ง จนถึงสมัยรัชกาลท่ ๕ ได้มีการจัดระเบียบการบริหารราชการในหัวเมืองข้นใหม่ โดยตั้งเมืองเพชรบูรณ์
                      ึ
                                      ์
               ขึ้นเปน “มณฑลเพชรบูรณ” เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๒ เพื่อเปนหัวเมืองเอกคอยปองกันราชอาณาจักรจากศัตรูทางเหนือ
                                                                             ้
                                                            ็
                    ็
               มีข้าหลวงเทศาภิบาลปกครองสืบต่อกันมา ๓ ท่าน มีราชทินนามว่า พระยาเพชรรัตน์สงครามฯ และทรงโปรดเกล้าฯ
               ให้ “สมเด็จฯ กรมพระยาดำารงราชานุภาพ” เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยสมัยนั้น ได้เสด็จมาตรวจราชการเมือง
               เพชรบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ และทรงพระนิพนธ์บันทึกเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับเมืองเพชรบูรณ์อย่างมากมาย
               อยู่ในหนังสือ นิทานโบราณคดี ชื่อเรื่องว่า “ความไข้ที่เมืองเพชรบูรณ์” นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ
               พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก ได้เฉลิมพระนามเม่อทรงกรมว่า “สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเพ็ชรบูรณ์
                                                                    ื
               อินทราชัย” อีกด้วย


                                                              ั
                                                                ี
                                                                                        ื
                      ล่วงเข้าสู่ยุคประชาธิปไตย สมัยสงครามโลกคร้งท่ ๒ พ.ศ. ๒๔๘๖ - ๒๔๘๗ เม่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม
               นายกรัฐมนตรี ได้ออกพระราชกำาหนดระเบียบบริหารราชการนครบาลเพชรบูรณ์ โดยตั้งใจจะย้ายเมืองหลวงมา
               อยู่ที่เพชรบูรณ์ โดยให้เหตุผลว่า เพชรบูรณ์มีชัยภูมิเหมาะสม มีภูเขาล้อมรอบ มีเส้นทางคมนาคมเข้าออกเพียง
               ทางเดียว มีภูมิประเทศสวยงาม อากาศดี อยู่ตรงกลางของประเทศ เป็นศูนย์กลางภาคเหนือกับภาคอีสานและ

               กรุงเทพฯ โดยได้มีการย้ายหน่วยราชการ กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยทหารต่างๆ มาไว้ที่เพชรบูรณ์เป็น
                                                                                     ำ
                                                                                     ้
               จำานวนมาก ทั้งยังได้ทำาพิธียกเสาหลักเมืองหลวงนครบาลเพชรบูรณ์ที่ตำาบลบุ่งนาเต้า อำาเภอหล่มสัก เมื่อวันที่
               ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๗ อีกด้วย แต่ต่อมาได้ถูกยกเลิกไปโดยมติของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนั้น
               ได้ก่อให้เกิดคุณูปการในการพัฒนาจังหวัดเพชรบูรณ์ในด้านต่างๆ อย่างมากมาย


                        ั
                      คร้นถึง พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๒๕ ได้เกิดความขัดแย้งในแนวคิดทางการเมืองจนเกิดการสู้รบกันระหว่าง
               รัฐบาลกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย โดยมีสมรภูมิอยู่ในเขตพื้นที่อำาเภอเขาค้อเป็นเวลากว่า ๑๔ ปี จึง
                                                                                                             ั
               ได้สงบลงจากนโยบายการเมืองนำาการทหารและไม่ใช้ความรุนแรงมาแก้ไขความขัดแย้งทางความคิด จากน้น
                                                                       ั
               จังหวัดเพชรบูรณ์จึงได้มีการพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองในทุกๆ ด้าน ท้งด้านเศรษฐกิจ สังคมการเมือง ด้านการเกษตร
                                                                                              ั
               ด้านวัฒนธรรม ด้านส่งแวดล้อม ด้านการคมนาคม และพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเท่ยวท่สำาคัญท้งทางธรรมชาติและ
                                 ิ
                                                                                   ี
                                                                                       ี
               ทางวัฒนธรรม จนมีการกำาหนดวิสัยทัศน์จังหวัดเพชรบูรณ์ว่า “ดินแดนแห่งความสุขของคนอยู่และผู้มาเยือน”
                                                                                           สมุดภาพเพชรบูรณ์   9
                                                                                                           Ÿ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16