Page 8 - สมุดภาพนนทบุรี | ประมวลภาพเก่าของจังหวัดนนทบุรี โดยความร่วมแรงร่วมใจของชาวนนทบุรี
P. 8

หนังสือ สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ฉบับวันอาทิตย์ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๙

           เคยลงภาพการขายทุเรียนที่ริมแม่น�้าหน้าศาลากลางเก่าขณะน�้าแห้ง มีเรือจอดบน
                  นำยสุเมธ ใจบุญ หรือ “ลุงแดง” นักกิจกรรม นักจัดรายการวิทยุเจ้าของรายการ “ลุงแดงไขข่าว” วัย ๘๐ ปี
           ตลิ่งหลายล�า มีคนไปซื้อขายกันอย่างคึกคัก (ดูหนังสือ เมืองไทย
           เป็นมัคคุเทศก์พาคณะท�างานไปตระเวนกระบุรีอย่างกระฉับกระเฉง ๒๔๙๕ - ๒๕๑๙
           โดยเอนก นาวิกมูล หน้า ๑๕๓) ท�าให้เห็นว่าทุเรียนเมืองนนท์ แต่ก่อนมีชื่อเสียงจริงๆ
                  คุณไฝ หรือ นำงสำวตนยำ ทรงประจักษ์กุล และน้องชายคือโกฉำย หรือ นำยบุญชัย ทรงประจักษ์กุล
                  แม้ในเพลงสาวชาวสวน ที่ไพบูลย์ บุตรขัน แต่งให้ศิริจันทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
           สองพี่น้อง ช่วยพาไปพบคนนั้นคนนี้ และให้ใช้บ้านซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางเป็นที่ตั้งกองก็อปปี้รูป
           ขับร้องเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ ก็ขึ้นต้นว่า “โอ้อกสาวชาวสวน นอนหนาวใจรัญจวนอยู่บ้าน
                  นำยธนกร สุวุฒิกุล (โต) นักพัฒนาการท่องเที่ยวช�านาญการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง คนหนุ่ม
           กลางสวนทุเรียน...” น่าเสียดายที่ปัจจุบันสวนทุเรียนถูกน�้าท่วมและถูกขายกลายเป็น
           ผู้สนใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ได้พาคณะท�างานไปตามบ้านต่างๆ ท�าให้งานด�าเนินไปอย่างราบรื่น สามารถ
           หมู่บ้านจัดสรรไปจนเกือบหมด
           รวบรวมภาพ และถ่ายภาพข้าวของเก่าๆ ตามบ้านตามวัดได้ตามความมุ่งหมาย
                  นนทบุรีประกอบด้วยอ�าเภอ ๖ อ�าเภอ กระจายอยู่สองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาคือ
                  หนังสือ สมุดภำพเมืองระนอง ส�าเร็จลงด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย ผู้ที่ช่วยอ�านวยความสะดวก และ
           อ�าเภอเมือง อ�าเภอบางกรวย อ�าเภอบางใหญ่ อ�าเภอบางบัวทอง อ�าเภอปากเกร็ด
           ร่วมงานครั้งนี้มีหลายคน คณะผู้จัดท�าหนังสือยังรู้สึกซาบซึ้งและระลึกถึงอยู่เสมอ และเพื่อเป็นการเตือนความจ�า
           และอ�าเภอไทรน้อย
           จึงได้ถ่ายภาพ หรือเอ่ยนามไว้เพื่อเป็นหมายเหตุช่วยจ�า และเพื่อแสดงความขอบคุณอีกครั้งในท้ายเล่ม หวังว่า
                  ฟากตะวันออกของแม่น�้าเจ้าพระยามีพื้นที่เล็กกว่าฟากตะวันตก สถานที่
           หลังจากมีสมุดภาพเมืองระนองแล้ว จะมีการรวบรวมภาพถ่ายเก่าเมืองระนองและจัดพิมพ์เผยแพร่เพื่อประโยชน์
           ทางการศึกษาต่อไปอีกอย่างต่อเนื่อง่ ศาลากลางจังหวัดหลังเก่า คุกบางขวาง ตลาด
           ส�าคัญที่เป็นจุดเด่นของฟากนี้ได้แก
           ปากเกร็ด วัดกู้ วัดเกาะพญาเจ่ง วัดชมภูเวก วัดชลประทานรังสฤษฏ์ มหาวิทยาลัย
           สุโขทัยธรรมาธิราช                                                                เอนก นำวิกมูล
                  ฟากตะวันตกมีพื้นที่กว้างขวาง ส่วนใหญ่เป็นสวนและไร่นาตั้งแต่บางกรวย
                                                                          วันพุธที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑
           บางใหญ่ บางบัวทอง ปากเกร็ด ขึ้นไปจนถึงบริเวณเหนือสุดคือ ไทรน้อย ซึ่งมีผืนนา
           ที่กว้างใหญ่สวยงามมาก

                  สถานที่เด่นๆ ของฟากนี้ได้แก่ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดปราสาท วัดปรมัยยิกาวาส
           วัดบางอ้อยช้าง วัดโพธิ์บางโอ วัดบางขนุน วัดโชติการาม วัดปรางค์หลวง วัดสวนแก้ว
           วัดเล่งเน่ยยี่ ๒ และตลาดบางบัวทอง เป็นต้น

                  วัดหลายวัดของนนทบุรีมีภาพจิตรกรรมฝาผนังและศิลปวัตถุที่สวยงาม แสดง
           ให้เห็นว่ามีช่างฝีมือดีอยู่ในพื้นที่ หรือไม่ก็สามารถเสาะหาช่างฝีมือดีมาสร้างผลงานได้
           นับเป็นมรดกอันล�้าค่าที่คนนนทบุรีภูมิใจ

                  หลักส�าคัญในการท�าหนังสือสมุดภาพ คือ พยายามรวบรวมภาพถ่ายยุคเก่า
           หรือภาพยุคขาวด�าไว้ก่อน หากภาพนั้นมีความคมชัดก็ยิ่งดี

                  นอกจากภาพถ่ายก็เป็นข้าวของส�าคัญตามวัด ตามบ้านและสถานที่ต่างๆ
           ทั้งพระพุทธรูป จิตรกรรมฝาผนัง ภาพวาด ภาพพิมพ์ ตู้พระธรรม หนังสือเก่า และ
           เครื่องถ้วยเครื่องชาม สิ่งของเหล่าเป็นจดหมายเหตุที่ช่วยยืนยันให้เห็นถึงวิถีชีวิตของ
           คนยุคเก่า และเป็นหลักฐานให้แสดงเห็นถึงความสามารถทางศิลปะของชุมชนนั้นๆ

                  ความจริงภาพถ่ายนั้นเข้ามาเมืองไทย (ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ และเริ่มแพร่
           หลายทีละน้อยในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อชาวบ้านรู้จักการถ่ายรูปมากขึ้นก็มีช่างถ่ายภาพ
                          คณะท�างานหนังสือสมุดภาพเมืองระนองเข้าคารวะและรับนโยบายจากผู้ว่าราชการ
           สมัครเล่นกระจายอยู่ตามตลาดและต�าบลต่างๆ บางทีก็มีการส่งภาพแลกเปลี่ยนกัน
                          จังหวัดระนอง เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ (ตามล�าดับจากซ้าย – นายธนกร
           ไปมาเพื่อมอบเป็นที่ระลึกซึ่งกันและกัน แต่เมื่อนานไปหลายคนก็หลงลืมภาพเหล่านี้
                          สุวุฒิกุล นายสุปรีดิ์ ณ นคร นายวุฒิพงศ์ ท้าวฬา นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ นายจตุพจน์
                          ปิยัมปุตระ  –  ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง  นายเอนก  นาวิกมูล  นางวรรณา  นาวิกมูล
                          และนางสาวโชติรส เกตุแก้ว)


           6   สมุดภำพนนทบุรี
             Ÿ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13