Page 7 - สมุดภาพนนทบุรี | ประมวลภาพเก่าของจังหวัดนนทบุรี โดยความร่วมแรงร่วมใจของชาวนนทบุรี
P. 7
ค�าน�า
ค�าน�า หน้าที่ของหนังสือสมุดภาพคือบันทึกภาพเก่าและสิ่งของที่น่าสนใจไว้เป็น
หลักฐาน โดยให้ภาพเป็นพระเอก ตัวหนังสือเป็นรอง
จังหวัดนนทบุรีมีหนังสือรวบรวมประวัติศาสตร์ความเป็นมาของตนเองอยู่
พอสมควร แต่ยังไม่ค่อยมีหนังสือที่ประมวลภาพถ่ายเก่าโดยตรง หนังสือที่ให้ราย
ละเอียดของนนทบุรีไว้ดีมากได้แก่หนังสือชื่อ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์
หนังสือ สมุดภำพเมืองระนอง เกิดขึ้นได้ก็เนื่องจากนำยจตุพจน์ ปิยัมปุตระ ผู้ว่าราชการจังหวัด มีความ
เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดนนทบุรี ปกสีเทา พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ เล่มต่อมา
สนใจและเห็นคุณค่าของงานด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ไม่ยิ่งหย่อนกว่างานด้านอื่นที่ต้องบริหารดูแลอยู่ จึงได้
คือ นนทบุรีศรีมหานคร โดย นายพิศาล บุญผูก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อนุมัติให้จังหวัดระนองพิมพ์หนังสือสมุดภาพขึ้นส�าหรับแจกจ่ายไปตามส�านักงาน ห้องสมุด และคนทั่วไปที่สนใจ
จัดพิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๐ และวารสารนนทบุรีสัมพันธ์ ซึ่งจัดพิมพ์ในยุค ๒๕๐๐
กำรท�ำสมุดภำพ หมายถึงการพิมพ์ภาพถ่ายบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ ตลอดจนงานศิลปะ และข้าวของ
นายภานุ แย้มศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรีเป็นผู้หนึ่งที่มีความสนใจทั้งงาน
ต่างๆ ไว้เป็นหลักฐานโดยใช้อุปกรณ์บันทึกที่มีคุณภาพ
ปกครองและงานประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม นายภานุเห็นความส�าคัญของสมุดภาพ
ที่ผ่านมาเรามักจะพบแต่การรวบรวมข้อมูลเฉพาะด้านงานเขียนเป็นหลัก ภาพเป็นแต่เพียงส่วนประกอบ
จึงมอบนโยบายและอนุมัติให้จังหวัดนนทบุรีจัดท�าหนังสือ สมุดภาพนนทบุรี ขึ้นเพื่อ
ชัดบ้าง ไม่ชัดบ้าง เล็กบ้างใหญ่บ้าง มีบ้าง ไม่มีบ้าง ไม่ค่อยมีใครสนใจ จะน�าภาพไปขยายหรืออ้างอิงก็ไม่ค่อยได้
แจกจ่ายแก่สถานศึกษาและผู้สนใจ จากนั้นก็ได้สั่งให้เจ้าหน้าที่ ประสานงานกับผู้รู้ ผู้น�า
เวลาจ�าเป็นต้องศึกษาหน้าตาบุคคล การแต่งกาย ประเพณี หรือสิ่งนั้นสิ่งนี้อย่างละเอียดเช่นเมื่อต้องท�านิทรรศการ
ท้องถิ่นต่างๆ ให้ช่วยอ�านวยความสะดวกแก่คณะท�างานด้วย ซึ่งปรากฏว่าทุกคนให้
หรือเขียนหนังสือ สร้างละคร ฯลฯ จึงเกิดปัญหา การท�าสมุดภาพจึงเป็นเรื่องจ�าเป็น ไม่ว่าในระดับต�าบล อ�าเภอ
ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง
จังหวัด หรือระดับประเทศ จังหวัดนนทบุรีอยู่ใกล้ชิดกรุงเทพฯ มาก ขับรถเลยบางโพขึ้นไปไม่กี่นาทีก็เป็น
เมืองระนองเป็นเมืองที่สวยงามทางภาคใต้ฝั่งตะวันตก ใต้จังหวัดชุมพร และเหนือจังหวัดพังงา ภูเก็ต
เขตนนทบุรีแล้ว ค�าว่า “นนทบุรี” ในหนังสือ อักขราภิธานศรับท์ ของหมอบรัดเลย์
สุราษฎร์ธานี จากความเป็นมาอันยาวนานพอสมควร จึงคาดว่าควรมีภาพถ่ายหรืองานด้านศิลปวัฒนธรรมให้
พ.ศ. ๒๔๑๖ แปลไว้ให้ว่าเมืองซึ่งเป็นที่ยินดี ความเป็นมาโดยสรุปของเมืองนนทบุรีคือ
ประมวลได้บ้าง เหลือแต่การออกส�ารวจและรวบรวมอย่างจริงจัง เพื่อให้เห็นผลเท่านั้น
เดิมชื่อ “ตลำดขวัญ” ยกฐานะเป็นเมืองนนทบุรีเมื่อรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
เมื่อถึงก�าหนดนัดหมายในเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะท�างานได้ออกตระเวนเก็บภาพตามบ้านเรือน
(ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๑) เป็นที่ระดมพลและสะสมเสบียงไว้ต่อสู้ข้าศึก
วัดวาอารามต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ในที่สุดก็พบว่า จังหวัดระนองมีภาพและข้าวของให้ถ่ายเป็นจ�านวนมาก ภาพถ่าย
ตอนที่สุนทรภู่เดินทางโดยเรือไปตามแม่น�้าเจ้าพระยาเพื่อขึ้นไปนมัสการพระ
ส่วนใหญ่ที่ต้องการนี้ เบื้องแรกเน้นว่ายึดเอาภาพขาวด�ายุคเก่าเป็นหลัก กับอีกประการหนึ่งหนังสือมีหน้ากระดาษ
เจดีย์ภูเขาทองที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๑ (สมัยรัชกาลที่ ๓) สุนทรภู่
จ�ากัด จึงต้องเลือกเก็บภาพยุคเก่ามากไว้ก่อนจะช�ารุดสูญหาย
กล่าวใน นิราศภูเขาทอง ว่าจากบางโพที่มีคนญวนขายกุ้งขายปลา แล้วก็ถึงวัดเขมา
คนระนองเป็นคนสุภาพ มีอัธยาศัยไมตรีต่อแขกผู้มาเยือน เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัด สนับสนุนให้มีการพิมพ์
ภิรตารามซึ่งอยู่ในเขตนนทบุรี ถึงตลาดแก้ว (ประมาณช่วงวัดปากน�้า) ซึ่งไม่เห็นตัว
สมุดภาพระนองขึ้นแล้ว คณะท�างานก็ออกตระเวนเก็บภาพตามอ�าเภอต่างๆ โดยได้รับความร่วมมือจากผู้น�าหรือผู้รู้
ตลาดเลย สองฟากฝั่งมีแต่สวนต้นไม้ ต่อจากนี้จึงถึงตลาดขวัญ หรือตัวเมืองนนทบุรี
ในท้องถิ่นด้วยดี เช่น นำยวิวิทย์ ปันฉิม (โกเหี้ยน) อดีตนายกเทศมนตรีเมืองระนอง วัย ๘๐ เศษ ช่วยหาเอกสาร
ซึ่งมีแพขายเสื้อผ้าและมีเรือมากมาย เข้าใจว่าตัวตลาดนนทบุรีในสมัยโน้นยังมีบ้าน
เกี่ยวกับระนอง และภาพถ่ายรุ่นรัชกาลที่ ๕ ซึ่งเป็นสมบัติส่วนตัวไว้ให้ก็อปปี้อย่างเต็มอกเต็มใจ
เรือนไม่มากนัก
หนังสือ เล่าเรื่องกรุงสยาม ของสังฆราชปัลเลอกัวซ์ พิมพ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๗
กล่าวว่าตลาดขวัญเป็นเมืองเล็กๆ มีราษฎรราว ๕๐๐ คน มีเรือนแพร้านค้าเป็นทิวแถว
ทั้งสองฝั่งแม่น�้าเต็มไปด้วยบ้านเรือนและเรือกสวนหนาแน่น
แต่ก่อนนนทบุรีขึ้นชื่อด้วยเรื่องเรือกสวนและทุเรียน จึงมีคนคุ้นหูกับค�าว่า
ทุเรียนเมืองนนท์กันทั้งประเทศ
สมุดภำพนนทบุรี 5