Page 9 - •-- สมุดภาพอ่างทอง --•
P. 9
พื้นภูมิเมืองอ่างทอง
โดย รองศาสตราจารย์หวน พินธุพันธ์
ี
เมืองอ่างทองในอดีตมีผู้คนอาศัยอยู่มานานหลายพันปี พื้นท่ทางตอนบนค่อนข้างเป็นท่ดอน
ี
ี
่
และค่อยๆ ลาดลงจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ ไมมีภูเขา ป่า หรือแร่ธาตุ เมืองอ่างทองได้รับการหล่อเล้ยง
จากแม่น�า ๒ สาย คือ แม่นาเจ้าพระยาและแม่นาน้อย ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ได้อาศัยทาการเพาะปลูก
�
้
�
้
�
้
อุปโภค บริโภค และคมนาคมตลอดมาถึงปัจจุบัน
จากหลักฐานทางโบราณคดีเท่าที่ค้นพบ ท�าให้ทราบว่าในเขตท้องที่เมืองอ่างทองมีล�าดับ
พัฒนาการจากยุคก่อนประวัติศาสตร์มาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ ดังนี้
๑. ยุคหินใหม่ ซึ่งเป็นสังคมเกษตรกรรมยุคแรกเริ่ม พบ ๒ แห่ง คือ แหล่งโบราณคดีบ้าน
�
�
สีบัวทอง ตาบลสีบัวทอง อาเภอแสวงหา อายุประมาณ ๓,๐๐๐ ปี และแหล่งโบราณคดีบ้านคลองสาโรง
�
�
ตาบลหลักแก้ว อ�าเภอวิเศษชัยชาญ อายุประมาณ ๔,๐๐๐ ปี โดยมากพบเศษขวานหินขัดและ
กระดูกสัตว์
�
๒. ยุคสาริด ได้ขุดพบเคร่องมือต่างๆ ท่ทาจากสาริดในแหล่งโบราณคดีบ้านสีบัวทอง ตาบล
ี
ื
�
�
�
สีบัวทอง อ�าเภอแสวงหา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ด้วยเช่นกัน
�
๓. ยุคเหล็ก พบ ๓ แห่ง คือ แหล่งโบราณคดีบ้านยางช้าย อาเภอโพธ์ทอง แหล่งโบราณคด ี
ิ
บ้านดอนตาวง และแหล่งโบราณคดีบ้านหัวกระบัง อ�าเภอสามโก้ สิ่งที่พบคือลูกปัดหินอาเกตและ
หินคาร์เนเลียน
ั
๔. สมัยทวารวดี เช่อกันว่ามีผู้คนเข้ามาต้งถิ่นฐานเป็นเมืองแล้วแต่เป็นเมืองไม่ใหญ่โตนัก
ื
หลักฐานที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบันที่ปรากฏก็คือ คูเมือง ที่บ้านคูเมือง ต�าบลห้วยไผ่ อ�าเภอแสวงหา
และที่บ้านทางพระ อ�าเภอโพธิ์ทอง พบโบราณวัตถุสมัยทวารวดีหลากหลายที่น่าสนใจ
ี
ี
๕. สมัยสุโขทัย สันนิษฐานว่ามีผู้คนอาศัยอยู่เป็นชุมชนท่ใหญ่มากข้น ท่พบเห็นเป็นรูปธรรม
ึ
ก็คือมีการสร้างพระพุทธรูปลักษณะสมัยสุโขทัย ๒ แห่ง คือ พระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูล
อ�าเภอโพธิ์ทอง และพระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมกวรวิหาร อ�าเภอป่าโมก เนื่องจากทราบประวัติใน
การสร้างเป็นต�านานเท่านั้น
ี
ื
๖. สมัยก่อนอยุธยา-อยุธยาตอนต้น ในพื้นท่วัดเขาแก้ว อาเภอโพธ์ทอง พบเคร่องถ้วยจีน
�
ิ
ื
สมัยราชวงศ์หยวนจากเตาหลงฉวนและเตาผู่เถียน เคร่องถ้วยเมืองเชลียง เคร่องถ้วยจากบ้านบางปูน
ื
(สุพรรณบุรี) และเครื่องถ้วยจากเตาเผาแม่น�้าน้อย (สิงห์บุรี)
๗. สมัยอยุธยาตอนกลาง-ตอนปลาย พบโบราณวัตถุสถานสมัยอยุธยาตอนกลาง-
ี
ิ
�
�
ั
ตอนปลายได้ท่วไปหลายแห่งในท้องท่เมืองอ่างทองทุกอาเภอ เช่น พระตาหนักคาหยาด อาเภอโพธ์ทอง
�
�
อุโบสถและจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถวัดเขียน อ�าเภอวิเศษชัยชาญ เป็นต้น
ั
ั
๘. สมยรัตนโกสนทร์ตอนตน พบโบราณวัตถุสถานสมัยรัตนโกสินทร์ได้ท่วไปหลายแห่ง
ิ
้
ในท้องที่จังหวัดอ่างทองทุกอ�าเภอ
้
ิ
้
้
่
่
ื
เมองอางทองในสมยทวารวด เช่อกนวามีผคนเขามาตังถนฐานเปนเมองแลว แตเปนเมอง
ื
่
ื
็
ื
็
ี
ู
้
ั
ั
่
ไม่ใหญ่โตนัก หลักฐานท่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบันท่ปรากฏคือ คูเมือง ท่บ้านคูเมือง ตาบลห้วยไผ่
�
ี
ี
ี
อาเภอแสวงหา ซ่งนายบาเซอลีเย นักโบราณคดีชาวฝร่งเศส และเจ้าหน้าท่กรมศิลปากรได้สารวจพบ
ั
ี
ึ
�
�
ี
่
ี
่
�
ั
สนนิษฐานวาเปนเมองโบราณสมยทวารวด ปจจุบนนีบานคเมองอยหางจากทวาการอาเภอแสวงหา
้
้
่
่
ู
่
็
ื
ู
ั
ั
ื
ั
ี
ไปทางทิศเหนือ ๔ กิโลเมตร ผังเมืองเป็นรูปส่เหล่ยมมน กว้างยาวประมาณด้านละ ๓๐๐ - ๔๐๐ เมตร
ี
้
�
มีคูนาล้อมรอบกว้างประมาณ ๒๐ เมตร เคยพบกระด่งสาริด แท่งหินบดยาทาด้วยหินทรายแดง
�
ิ
�
พระพิมพ์ดินเผา และเศษภาชนะดินเผา เป็นต้น
สมุดภาพอ่างทอง 7