Page 10 - •-- สมุดภาพอ่างทอง --•
P. 10

ต่อมาในสมัยสุโขทัย เข้าใจว่ามีผู้คนเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยมากขึ้นเรื่อยๆ และในท้องที่
                                ิ
                                                               ั
                                                                                   �
           เมืองอ่างทองน่าจะได้รับอทธิพลจากสุโขทัย โดยการสังเกตจากลกษณะของพระพุทธรูปสาคัญใน
           ท้องถิ่นเมืองอ่างทองมีลักษณะเป็นแบบสุโขทัย เช่น พระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูล อ�าเภอ
           โพธิ์ทอง และพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกวรวิหาร อ�าเภอป่าโมก เป็นต้น
                                                                          ้
                                                                 ั
                 ในสมัยอยุธยาตอนต้น แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ ซ่งมีชัยภูมิต้งอยู่ริมแม่น�าน้อย ได้ปรากฏชื่อ
                                                         ึ
                ั
           เป็นคร้งแรกในพงศาวดาร ราว พ.ศ. ๒๑๒๗ ความว่า “สมเด็จพระนเรศวรเม่อคร้งยังทรงเป็นมหาอุปราช
                                                                    ื
                                                                       ั
                                                                ี
           และสมเด็จพระเอกาทศรถ ได้เสด็จยกกองทัพไปรบกับพระยาพะสิมท่เมืองสุพรรณบุรี พระองค์ได้เสด็จ
                                                                  ี
                                                                   �
                                      �
           โดยทางเรือจากกรุงศรีอยุธยา ไปทาพิธีเหยียบชิงชัยภูมิตัดไม้ข่มนามท่ตาบลลุมพลี พระองค์ได้เสด็จ
           ไปประทับที่แขวงเมืองวิเศษไชยชาญอันเป็นที่ชุมพล”
                 ส่วนเมืองอ่างทองที่มีชัยภูมิตั้งอยู่ริมสองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา (แม่น�้าใหญ่) นั้น ถูกกล่าวชื่อ
                                            ี
                                         ื
             ั
                                                                        ี
           คร้งแรกในสมัยพระเจ้าบรมโกศ ด้วยเร่องท่ว่าชาวเมืองอ่างทองขนข้าวไปขายท่อยุธยา เน่องด้วยเมือง
                                                                                ื
                                �
           อ่างทองมิได้อยู่ในเส้นทางทาศึกระหว่างไทยกับพม่าอย่างเมืองวิเศษไชยชาญ แต่มีหลักฐานปรากฏใน
                                                                             �
              ี
                      ้
           วัดท่อยู่ริมแม่นาเจ้าพระยา ตั้งแต่อาเภอไชโย อาเภอเมืองอ่างทอง และอาเภอป่าโมก (อาเภอในปัจจุบัน)
                                              �
                      �
                                     �
                                                                 �
           พบว่าวัดจ�านวนมากจะมีพระพุทธรูปหินทรายประดิษฐานเป็นส่วนใหญ่ อันเป็นศิลปกรรมในช่วงต้น
           ของสมัยอยุธยา จึงเป็นเครื่องแสดงถึงการตั้งชุมชนในช่วงเวลาดังกล่าวด้วยเช่นกัน เมืองอ่างทองใน
           สมัยอยุธยาตอนต้นจึงเสมือนเป็นอู่ข้าวอู่น�้าของกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่ครั้งนั้น
                    ั
                                                         ี
                                                     ้
                                     ื
                                                                    ุ
                       ุ
                                                             ื
                 สมยอยธยาตอนกลาง เมองวิเศษไชยชาญมีทองท่ต่อเน่องกบกรงศรีอยุธยาเสมอนเป็นเมือง
                                                                ั
                                                                               ื
           ที่ตั้งอยู่ชานเมืองหลวง เนื่องจากมีประวัติศาสตร์เกี่ยวเนื่องกันหลายคราว เฉพาะครั้งส�าคัญๆ คือ
           เมื่อราว พ.ศ. ๒๑๒๒ ญาณพิเชียรมาซ่องสุมคนในต�าบลยี่ล้น ขุนศรีมงคลแขวงส่งข่าวกบฏนั้นมา
           ถวาย สมเด็จพระมหาธรรมราชาโปรดให้พระยาจักรียกกาลังไปปราบปราม ตั้งทัพในต�าบลมหาดไทย
                                                       �
                                     ู
           ญาณพิเชียรและพรรคพวกก็เข้าส้รบกบพระยาจักรี เจ้าพระยาจักรีเสียชีวิตในการสู้รบ พวกชาวบ้าน
                                         ั
                                                                      �
           ก็เข้าเป็นพวกญาณพิเชียร ต่อมาญาณพิเชียรคิดเอาเมืองลพบุรี จึงยกกาลังไปปล้นเมืองลพบุร  ี
           ได้รบกับพระยาสีหราชเดโช ญาณพิเชียรถูกยิงตาย พรรคพวกกบฏก็หนีกระจัดกระจายไป กบฏญาณ
                                                       ี
           พิเชียรนับว่าเป็นเหตุการณ์สาคัญมากเหตุการณ์หนึ่งท่ชาวบ้านย่ล้นและชาวบ้านมหาดไทย แขวง
                                                               ี
                                  �
           เมืองวิเศษไชยชาญเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
                                                                        ี
                                                      ั
                                                                         �
                                                        ี
                                                                                     �
                  พ.ศ. ๒๑๒๘ พระเจ้าเชียงใหม่ยกกองทัพมาต้งท่บ้านสระเกษ ท้องท่ตาบลไชยภูมิ (อาเภอ
           ไชโย) สมเด็จพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถยกกองทัพไปถึงต�าบลป่าโมก ก็พบทหารพม่าซึ่งลงมา
           เท่ยวรังแกราษฎรทางเมืองวิเศษไชยชาญ จึงได้เข้าโจมตีทหารพม่าล่าถอยไป พระเจ้าเชียงใหม่
             ี
           จึงได้จัดกองทัพยกลงมา สมเด็จพระนเรศวรจึงด�ารัสสั่งให้พระราชมนูคุมกองทัพขึ้นตระเวนดูก่อน
           กองทัพพระราชมนไปปะทะกบกองทพพม่าทบานบางแกว สมเดจพระนเรศวรเสดจขนไปถงบานแห
                                              ่
                                              ี
                                                ้
                                                        ้
                                                                             ้
                                  ั
                                                             ็
                                                                                  ึ
                                                                                    ้
                          ู
                                        ั
                                                                           ็
                                                                             ึ
               �
           จึงมีดารัสให้ข้าหลวงข้นไปส่งพระราชมนูให้ทาเป็นถอยทัพกลับมา แล้วพระองค์ก็โอบล้อมรุกไล่ตีทัพ
                                 ั
                            ึ
                                              �
                                                               ี
           พม่าแตกท้งทัพหน้าและทัพหลวง จนถึงท่ต้งทัพพระเจ้าเชียงใหม่ท่บ้านสระเกษ กองทัพของพระเจ้า
                   ั
                                             ั
                                            ี
           เชียงใหม่จึงแตกพ่ายกลับไป
                 พ.ศ. ๒๑๓๐ พระเจ้ากรุงหงสาวดียกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา ทหารไทยได้เอาปืนลงเรือ
            �
           สาเภาข้นไประดมยิงค่ายหลวงพระเจ้าหงสาวดี จนพระเจ้าหงสาวดีทนไม่ไหวต้องถอยทัพหลวง
                 ึ
           กลับข้นไปต้งป่าโมก สมเด็จพระนเรศวรเสด็จโดยขบวนทัพเรือตามตีกองทัพหลวงของพระเจ้า
                ึ
                     ั
           หงสาวดีไปจนถึงป่าโมก จนพม่าแตกพ่ายถอยทัพกลับไป
                                                                                 ี
                 พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเด็จพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถยกทัพจากรุงศรีอยุธยาไปตั้งท่ทุ่งป่าโมก
                                                                         ั
                               ุ
                                      ุ
                            ื
             ้
                  ั
                                       ี
                                                                 ุ
                                                               �
                                                   ้
                                           ้
           แลวยกทพหลวงไปเมองสพรรณบรทางบานสามโก และทรงกระทายทธหัตถีกบพระมหาอุปราชาท       ี ่
           ต�าบลตระพังตรุ หนองสาหร่าย อ�าเภอดอนเจดีย์ เมืองสุพรรณบุรี จนมีชัยชนะยุทธหัตถี
                 พ.ศ. ๒๑๔๗ สมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถยกกองทัพไปตีกรุงอังวะ เสด็จเข้า
           พักพลท่ตาบลป่าโมก แล้วเสด็จไปทางชลมารคข้นเหยียบชัยภูมิต�าบลเอกราช อ�าเภอป่าโมก ตัดไม้ข่มนาม
                  �
                                               ึ
                 ี
           8   สมุดภาพอ่างทอง
             Ÿ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15