Page 11 - •-- สมุดภาพอ่างทอง --•
P. 11

ตามพระราชพิธีของพราหมณ์แล้วยกทัพไป แต่สวรรคตเสียที่เมืองหางหรือเมืองห้างหลวง สมเด็จ
                                                                           ื
                                                                                                             ี
                                พระเอกาทศรถน�าพระบรมศพกลับกรุงศรีอยุธยา ต่อเน่องถึงในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ ๘
                                                                                                              ั
                                (พระเจ้าเสือ) พระองค์ได้ปลอมเป็นสามัญชนไปในงานฉลองพระอาราม ได้ทรงชกมวยได้ชัยชนะถึง ๒ คร้ง
                                                                                                        ี
                                                                                       ื
                                      ี
                                สถานท่เสด็จไปก็คือ บ้านประจันตชนบท แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ เช่อกันว่างานฉลองวัดท่เสร็จไป
                                น้นอาจเป็นวัดโพธิ์ถนนหรือวัดถนน ซึ่งเป็นวัดร้างอยู่ในต�าบลตลาดกรวด (อาเภอเมืองอ่างทอง)
                                                                                               �
                                 ั
                                                                                             �
                                                          ี
                                        ึ
                                 ั
                                น่นเอง ซ่งเหตุการณ์ดังกล่าวช้ให้เห็นว่าดินแดนของอ่างทองยังคงความสาคัญต่อเมืองหลวงคือ
                                                                        ี
                                                                          ื
                                             ื
                                กรุงศรีอยุธยา เม่อมีงานนักขัตฤกษ์ของสามัญชนท่เล่องลือเข้าไปถึงพระราชวังในเมืองหลวง แม้แต่
                                พระมหากษัตริย์ก็ทรงสนพระทัยที่จะทอดพระเนตรและทรงเข้าร่วมด้วยกันอย่างสามัญ
                                       พ.ศ. ๒๒๖๙ ในสมัยแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ได้เสด็จไปควบคุมการชะลอ
                                                                     ่
                                                 ่
                                                                                                    ่
                                                                                          �
                                                                                                    ิ
                                พระพุทธไสยาสน์วัดปาโมก เพราะปรากฏว่าแมน�าเจ้าพระยาตรงหน้าวัดนาเซาะกัดตลงจนอาจทาให  ้
                                                                                                           �
                                                                      ้
                                                                                          ้
                                                           �
                                                                                 �
                                                                            ั
                                พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ถูกทาลายลงได้ จึงมีรับส่งให้ทาการชะลอพระพุทธไสยาสน์เข้าไป
                                ประดิษฐานห่างฝั่งออกไป ๑๕๐ เมตร ใช้เวลาทั้งหมดกว่า ๕ เดือน
                                                   ิ
                                                                   ็
                                                                     ุ
                                         ่
                                         ื
                                                ื
                                                                         ู
                                                                                                  ่
                                                                                                          ้
                                                                                                          ั
                                                                          ิ
                                                                              ่
                                                                                         ั
                                       เนองจากเมองวเศษไชยชาญเคยเปนยทธภมระหวางทหารไทยกบทหารพมาหลายครง จึงม     ี
                                บรรพบุรุษผู้สร้างวีรกรรมอันกล้าหาญในการรบกับพม่าหลายท่าน อาทิ นายดอก ชาวบ้านกรับ และ
                                นายทองแก้ว ชาวบ้านโพธิ์ทะเล ท้งสองท่านเป็นชาวเมืองวิเศษไชยชาญ ได้ร่วมกับชาวบ้านของเมือง
                                                           ั
                                วิเศษไชยชาญสู้รบกับพม่าอยู่ท่ค่ายบางระจัน ซ่งสมัยนั้นอยู่ในแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ และสนามรบ
                                                        ี
                                                                     ึ
                                                ี
                                                 �
                                ส่วนใหญ่อยู่ในท้องท่อาเภอแสวงหา วีรกรรมอันกล้าหาญชาญชัยของนักรบไทยค่ายบางระจันสมัยนั้น
                                เป็นที่ภาคภูมิใจและประทับอยู่ในความทรงจ�าของคนไทยทุกคนตลอดมา
                                       พ.ศ. ๒๓๐๒ วีรกรรมของนับรบแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ คือขุนรองปลัดชูกับกองอาตมาฏ
                                                                  ี
                                ในคร้งนั้นตรงกับรัชกาลของสมเด็จพระท่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ (สมเด็จพระเจ้าเอกทัศ) ข้นครอง
                                    ั
                                                                                                         ึ
                                       ั
                                ราชสมบติกรุงเทพทวารวดศรีอยุธยา พระเจ้าอลองพญาครองราชสมบัติกรุงองวะรัตนสงห์ ปกครองพม่า
                                                                                          ั
                                                     ี
                                                                                                  ิ
                                      ั
                                รามัญท้งปวง ทรงให้เกณฑ์ไพร่พล ๘,๐๐๐ นาย ให้มังฆ้องนรธาเป็นนายทัพยกมาตีเมืองทวาย มะริด
                                และตะนาวศรี พระเจ้าเอกทัศทรงเกณฑ์พล ๕,๐๐๐ นาย แบ่งเป็นสองทัพ โดยให้พระราชรองเมือง
                                ว่าท่ออกญายมราชคุมทัพใหญ่พล ๓,๐๐๐ นาย แลให้ออกญารัตนาธิเบศร์คุมทัพหนุนพล ๒,๐๐๐ นาย
                                   ี
                                ในคร้งนั้นมีครูฝึกเพลงอาวุธอยู่ในเมืองวิเศษไชยชาญอยู่ผู้หน่งชื่อครูดาบชู ซึ่งได้รับแต่งตั้งจาก
                                    ั
                                                                                   ึ
                                สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศให้เป็นปลัดเมือง กรมการเมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้านจึงเรียกว่า
                                ขุนรองปลัดชู น�ากองอาตมาฏจ�านวน ๔๐๐ นาย มาอาสาศึก แลได้ติดตามไปกับกองทัพออกญา
                                            ื
                                รัตนาธิเบศร์ เม่อเดินทางข้ามพ้นเขาบรรทัดก็ได้ทราบว่า เมืองมะริดและตะนาวศรีเสียแก่ข้าศึกแล้ว
                                จึงต้งทัพรออยู่เฉยๆ โดยทัพพระราชรองเมืองตั้งอยู่ท่แก่งตุ่มตอนปลายแม่นาตะนาวศรี ส่วนออกญา
                                   ั
                                                                                            ้
                                                                          ี
                                                                                            �
                                รัตนาธิเบศร์ตั้งทัพอยู่ที่เมืองกุยบุรี แต่ให้กองอาตมาฏมาขัดตาทัพรอที่อ่าวหว้าขาว
                                       จากนั้นสามวันทัพพม่าเข้าตีทัพไทยท่แก่งตุ่มแตกพ่ายไป และยกมาเพื่อเข้าตีทัพหนุน
                                                                      ี
                                                                                              ั
                                                                                                       ้
                                                                            �
                                                                                      ิ
                                                                                 ้
                                                                                                              ่
                                                                                              ้
                                                                                                          ั
                                                              ่
                                                              ั
                                                                 ้
                                                                    ั
                                                                  ้
                                                            �
                                                     ั
                                              ุ
                                                         ้
                                กองอาตมาฏของขนรองปลดชูไดรบคาสงใหตังรบพม่าทตาบลหวาขาวรมทะเล ครนพอเพลาเชาทพพมา
                                                          ั
                                                                          ี
                                                                          ่
                                ๘,๐๐๐ นาย ก็ปะทะกับกองอาตมาฏ ๔๐๐ นาย ทัพทั้งสองปะทะกันดุเดือดจนถึงเที่ยงมิแพ้ชนะ
                                แต่ทัพไทยพลน้อยกว่าก็เร่มอ่อนแรง ขุนรองปลัดชูรบจนส้นกาลังถูกทหารพม่ารุมจับตัวไป จากนั้น
                                                                              ิ
                                                     ิ
                                                                                 �
                                                     �
                                                     ่
                                พม่าให้ช้างศึกเข้าเหยียบยาทัพไทยล้มตายเป็นอันมาก กองอาตมาฏ ๔๐๐ คนตายแทบจะส้นท้งทัพ
                                                                                                           ั
                                                                                                        ิ
                                                                                                 ึ
                                                                                                 ้
                                         ึ
                                                                                                           ึ
                                เพื่อระลกถงวรกรรมของกองอาสาวเศษไชยชาญในครงนัน จงได้มการสร้างวัดขนเป็นทระลกแก่
                                                                                                        ี
                                                                                                        ่
                                           ี
                                                                            ้
                                                                              ้
                                                             ิ
                                                                                      ี
                                      ึ
                                                                            ั
                                                                                  ึ
                                นักรบกล้าทั้ง ๔๐๐ นาย เรียกกันว่า “วัดสี่ร้อย”
                                       สมัยกรุงธนบุรี หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ สันนิษฐานว่าเมืองวิเศษไชยชาญ
                                                                          �
                                                                ี
                                และบ้านเมืองในอาณาบริเวณใกล้เคียงท่เคยมีความสาคัญคงจะร้างผู้คนจากภัยสงคราม ประชาชน
                                พลเมืองกระจัดพลัดพรายหลบล้หนีภัยไปอยู่ในท่ต่างๆ ส่วนท่รวบรวมกาลังกันได้โดยเร็วคงเป็น
                                                                                   ี
                                                          ี
                                                                        ี
                                                                                           �
                                ชาวเมืองวิเศษไชยชาญ ดังปรากฏหลักฐานว่า พระยาอินทรวิชิตเจ้าเมืองวิเศษไชยชาญได้ไปราชการทัพ
                                ช่วยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบชุมนุมเจ้าพระฝาง เมืองสวางคบุรี และนาช้างสาคัญมาน้อมเกล้าฯ
                                                                                            �
                                                                                                �
                                                                                             สมุดภาพอ่างทอง   9
                                                                                                           Ÿ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16