Page 12 - •-- สมุดภาพอ่างทอง --•
P. 12

่
                                                              ิ
                 ้
                                                                 ู
                                                             ิ
                                                                  ้
                                                                                      ่
                                                                  ี
                                                ่
                                        ั
                                   ็
                               �
                                                                        ั
                  ั
           ถวายไดรบพระราชทานบาเหนจรางวลคราวหนึง พระยาอินทรวชตผ้นภายหลงพบหลักฐานวาตอมา
                                                                                      ้
                                                                     ื
                                                                             ู
                                                  ิ
                                                                                �
                      ิ
                                                                                   ั
           เป็นเจ้าเมืองวเศษไชยชาญ สันนิษฐานว่าเมืองวเศษไชยชาญในฐานะเมองอาสาส้ศึกสาคญตังแต่
           สมัยกรุงศรีอยุธยาได้กลับคืนเป็นบ้านเมืองขึ้นอีกในครั้งนั้น
                 บทบาทส�าคัญของพระยาอินทรวิชิต อดีตเจ้าเมืองวิเศษไชยชาญ คือร่วมราชการสงคราม
           กับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบปรามขบไล่อริราชศัตรูมาโดยตลอด หลงจากสงครามท   ่ ี
                                                                            ั
                                                  ั
           เมืองตากใน พ.ศ. ๒๓๑๗ แล้วก็ไม่พบชื่อพระยาอินทวิชิตหรือพระยาอ่างทองอีก จนกระท่ง พ.ศ. ๒๓๒๕
                                                                              ั
           ในรัชกาลสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเจ้าเมืองวิเศษไชยชาญใหม่
           ให้พระไชยบาดาลมาเป็นเจ้าเมืองแทน
                 สมัยรัตนโกสินทร์ เมืองวิเศษไชยชาญยังคงมีฐานะและความสาคัญเป็นหัวเมืองชั้นเมืองข้น
                                                                                        ึ
                                                                  �
           เมืองตรี เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา สมัยธนบุรี เช่น เมื่อมีศึกสงครามก็ถูกเกณฑ์ไปช่วยราชการทัพ
           ในยามปกติทามาหากินประกอบอาชีพ ทานาทาไร่ ค้าขาย รวมท้งส่งอากร วัตถุส่งของแก่ทางราชการ
                                                                         ิ
                                           �
                                                             ั
                     �
                                               �
           ในโอกาสต่างๆ ล่วงมาถึง พ.ศ. ๒๓๕๖ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ
                                                    �
                                           �
                                                         ั
                                                              �
           ให้พระยาภูธร สมุหนายกไปเป็นแม่กองทาการเปิดทานบก้นแม่นาเจ้าพระยาท่ต�าบลบางแก้ว เพื่อให้
                                                                        ี
                                                              ้
                                      �
                                                                   ั
                                                                     ี
            ้
            �
           นาไหลไปทางคลองบางแก้วแต่ไม่สาเร็จ จึงย้ายเมืองวิเศษไชยชาญไปต้งท่ปากคลองบางแก้ว ต�าบล
                       ี
                                                     �
                                                     ้
           บางแก้ว ท้องท่อ�าเภอเมืองอ่างทองฝั่งซ้ายของแม่นาพระยาจนถึงปัจจุบันนี้ พร้อมกับขนานนาม
           ให้เป็นสิริมงคลแก่เมืองใหม่ว่า “เมืองอ่างทอง” ส่วนเมืองวิเศษไชยชาญยังคงเป็นเมืองอยู่ตลอดมา
                                    �
                                                �
           จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๙ แต่ลดลงเป็นอาเภอ เรียกว่า อาเภอไผ่จ�าศีล และเปล่ยนกลับมาใช้ชื่อ “วิเศษไชยชาญ”
                                                                ี
           อีกครั้ง โดยทางราชการใช้ชื่อ “อ�าเภอวิเศษไชยชาญ” มาจนถึงวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ และ
                 ั
                                                                         �
           พบว่าต้งแต่วันท่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๙ ทางราชการจึงได้ใช้ชื่อเป็น “อาเภอวิเศษชัยชาญ”
                        ี
           เป็นต้นมา (ไม่พบหลักฐานค�าสั่งให้เปลี่ยนชื่ออ�าเภอในหนังสือราชกิจจานุเบกษา)
                 ต่อเนื่องถึงในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีการปฏิรูปการปกครอง ได้มีการจัดระเบียบการปกครอง
           เป็นมณฑลเทศาภิบาลใน พ.ศ. ๒๔๓๙ เมืองอ่างทองได้ขึ้นอยู่ในการปกครองข้าหลวงเทศาภิบาล
           กรุงเก่า ซึ่งมีเมืองข้นกับมณฑลกรุงเก่าจานวน ๘ เมือง ขณะนั้นเมืองอ่างทองแบ่งการปกครอง
                           ึ
                                            �
           เป็นอ�าเภอ มี ๔ อ�าเภอ คือ อ�าเภอเมืองอ่างทอง อ�าเภอไชโย อ�าเภอไผ่จ�าศีล และอ�าเภอโพธิ์ทอง
           ต่อมา พ.ศ. ๒๔๔๕ ตั้งอ�าเภอป่าโมก ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๕๑ เปลี่ยนชื่ออ�าเภอไผ่จ�าศีลเป็นอ�าเภอ
           วิเศษชัยชาญ ต่อมา พ.ศ. ๒๔๕๙ เปลี่ยนฐานะ “เมืองอ่างทอง” เป็น “จังหวัดอ่างทอง” ในรัชสมัย
           พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
                                                                    ี
                 จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปล่ยนแปลงการปกครองจาก
           ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. ๒๔๗๖ รัฐบาลคณะราษฎรได้ม     ี
           การยุบเลิกการปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาล และให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
           นายเกร่น แสนโกสิศ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คนแรกของจังหวัดอ่างทอง จนถึง พ.ศ. ๒๔๙๑
                 ิ
                       ิ
                         �
           ได้ประกาศตั้งก่งอาเภอแสวงหา และพ.ศ. ๒๔๙๙ ยกฐานะข้นเป็นอ�าเภอแสวงหา ต่อมา พ.ศ. ๒๕๐๕
                                                         ึ
           ประกาศตั้งกิ่งอ�าเภอสามโก้ และ พ.ศ. ๒๕๐๘ ยกฐานะขึ้นเป็นอ�าเภอสามโก้
                                                                  �
                                                         �
                 ปัจจุบันจังหวัดอ่างทอง แบ่งการปกครองเป็น ๗ อาเภอ ๗๓ ตาบล ๕๑๓ หมู่บ้าน คือ อาเภอ
                                                                                     �
           เมืองอ่างทอง อ�าเภอไชโย อ�าเภอป่าโมก อ�าเภอโพธิ์ทอง อ�าเภอวิเศษชัยชาญ อ�าเภอแสวงหา และ
            �
           อาเภอสามโก้ มีคาขวัญประจาจังหวัดอ่างทอง คือ “พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่
                         �
                                   �
           วีรไทยใจกล้า ตุ๊กตาชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานท�ากลอง เมืองสองพระนอน” ตราประจ�าจังหวัด
           คือ รูปอ่างทอง ในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าว เนื่องจากจังหวัดอ่างทองเป็นท่ราบลุ่มมีลักษณะเป็น
                                                                        ี
           แอ่งรับน�้า ภูมิประเทศเหมาะแก่การเพาะปลูก ดวงตราของจังหวัดจึงเป็นรูปอ่างสีทองซึ่งหมายถึง
                                                               ั
                                ี
           ความอุดมสมบูรณ์ในพื้นท่ และในอ่างมีรวงข้าวและใบข้าวอยู่ท้งสองข้างหมายถึงการทานาอัน
                                                                                   �
           เป็นอาชีพหลักของผู้คนในพื้นที่นี้
           10   สมุดภาพอ่างทอง
              Ÿ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17