Page 98 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 98
๔.๓ หลักการออกแบบพื้นที่ โคก หนอง นา ตามภูมิสังคม
(Geosocial) ภาพหน้าซ้ายบน
การขุดสระน�้า ศูนย์ศึกษา
การออกแบบพื้นที่ด้วย โคก หนอง นา เป็นการประยุกต์หลักทฤษฎีใหม่ และพัฒนาชุมชนนครนายก
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ให้เหมาะสมตามสภาพตามภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิด ภาพหน้าซ้ายล่าง
ประโยชน์สูงสุด กล่าวคือ สอดคล้องกับ ‘ภูมิ’ หรือ สภาพทางกายภาพของพื้นที่ กิจกรรมและการฝึกอบรม
และ ‘สังคม’ หรือ วิถีชีวิต ค่านิยม ความหลากหลายของวัฒนธรรมและประเพณี ทฤษฎีใหม่ ศูนย์ศึกษาและ
ของคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ พัฒนาชุมชนนครนายก
๔.๓.๑ หลักการท�าโคก หนอง นา ภาพหน้าขวา
พืชผักสวนครัว ศูนย์เรียนรู้
การท�าโคก หนอง นา เป็นการจัดการพื้นที่ซึ่งเหมาะกับการท�าเกษตร สัมมาชีพชุมชน ต�าบลคลองหก
ตามทฤษฎีใหม่ (๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐) โดยยึดหลักการที่ว่าฝนตกเท่าไร อ�าเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
ต้องกักเก็บน�้าไว้ให้ได้ทั้งหมด ไม่ทิ้ง ควบคู่กับหลักการทรงงานของพระราชา (นายอดุลย์ วิเชียรชัย)
คือ ต้องไม่ติดต�ารา ต้องมีความยึดหยุ่นในการท�างาน ท�าตามภูมิสังคมและ
ท�าแบบคนจน (ค่อยๆ ท�าตามก�าลัง)
94