Page 94 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 94

พระราชด�าริในการจัดการทรัพยากรน�้าเพื่อการเกษตรของ
             พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร  มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช                 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จ
             บรมนาถบพิตร น�ามาสู่การพัฒนา รักษา และต่อยอด เป็นการประยุกต์ทฤษฎีใหม่   พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร

             สู่ โคก หนอง นา แห่งน�้าใจและความหวังของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่ง   มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
                                                                                   พร้อมด้วยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
             ทรงขยายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ให้เห็นและสัมผัส       กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
             ได้จริง โดยผ่านการประชุมร่วมกันคิดจากนักวิชาการด้านต่างๆ โดยเฉพาะ     สยามบรมราชกุมารี  ไปทอดพระเนตรผลงาน
             สถาปนิก และเกษตรกรผู้ทรงภูมิ                                          ความก้าวหน้าด้านการทดลองและวิจัย

                    เนื่องด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่เป็นศัพท์แสง  การศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด

             ของนักวิชาการ อาจจะฟังดูในระดับคนทั่วไปแล้วเข้าใจยาก จึงได้มีการปรึกษา    ของดินพรุที่มีผลต่อการเพาะปลูกพืชและ
             คิดหาค�าง่ายๆ ที่เข้าใจได้ทันทีที่ได้ยิน และสอดคล้องกับภูมิปัญญาของราษฎร    งานปรับปรุงดินเปรี้ยวในแปลงทดลอง
             จึงเกิดค�าว่า “โคก หนอง นา” รวมถึงเรื่องที่เป็นวิถีธรรมดาของชีวิตชนบทของ  ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง
                                                                                   อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ
             คนไทย คือประเพณีการลงแขก ก็ถูกน�ากลับมาใช้ใหม่ ในค�าว่า “เอามื้อสามัคคี”  ต�าบลกะลุวอเหนือ

                    โครงการแรกสุดที่ได้รับการสถาปนา คือ โรงเรียนจิตอาสา ๙๐๔        อ�าเภอเมืองนราธิวาส

             พระองค์ทรงให้ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และราชองครักษ์ เข้าอบรมหลักปรัชญา  จังหวัดนราธิวาส
             ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ (มาบเอื้อง)    เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙
             อ�าเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี จ�านวน ๔ รุ่น รุ่นละ ๕๐๐ คน รวมเป็น ๒,๐๐๐ คน
             เพื่อให้บุคคลเหล่านี้เป็นต้นแบบในการที่จะขับเคลื่อนหลักทฤษฎีใหม่ไปสู่สังคม
             โดยใช้ที่ดินบริเวณกรมทหารราบที่ ๑๑ มหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ บางเขน

             เป็นแปลงสาธิตและเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรม เริ่มจากแปลงขนาด ๕ ไร่
             แล้วขยายเป็นระยะๆ จนปัจจุบันมีถึง ๒๐๐ ไร่เศษ


             90
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99