Page 9 - :: มหาวิทยาลัย | หนังสือที่ระลึกงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ๒๕๖๗ ::
P. 9
คำานำา
ี
ิ
ื
ี
เอกสารส่งพิมพ์ท่เป็นหลักของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็คือวารสารท่ช่อ “มหาวิทยาลัย”
ิ
ซึ่งเร่มพิมพ์ข้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๖๖ จนถึงปัจจุบัน มีการปรับเปล่ยนไปตามเหตุและปัจจัย ในระยะแรก
ึ
ี
เป็นวารสารออกทุกๆ ๒ เดือน ต่อมาก็ปรับเปลี่ยนเป็นออกทุกๆ ๔ เดือน (๑ ปี มี ๓ ฉบับ)
ี
ในระยะหลังๆ จนถึงปัจจุบันออกปีละ ๑ เล่ม ในวันปิยมหาราช วันท่ ๒๓ ตุลาคมของทุกปี ถือว่า
เป็นหนังสือที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน
ี
สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีภารกิจท่จะต้องจัดงาน “คืนเหย้าชาวจุฬาฯ
พระคุณแนบไว้นิรันดร ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๗” ประธานคณะดำาเนินงาน (นายสุทธิพงษ์
ี
จุลเจริญ) มีดำาริเห็นชอบท่จะจัดพิมพ์หนังสือนี้ข้นอีกคร้งหน่ง แต่ด้วยหนังสือเล่มน้มีจำานวนหลาย
ั
ึ
ี
ึ
ร้อยฉบับ และได้ฉบับมาไม่ครบถ้วน ทำาอย่างไรที่จะให้ได้ประโยชน์แก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ื
่
้
ี
และสาธารณชนอ่นๆ ดีท่สุด จึงมีมติเป็นเอกฉันท์ให้จัดพิมพ์เฉพาะหน้าปก สารบัญ สวนเนือใน
นั้นก็คัดเฉพาะที่มีภาพประกอบและบทเปิดที่มีการออกแบบอย่างสวยงาม
ความสำาคัญของวารสารมหาวิทยาลัย มี ๓ ประการ คือ
ี
๑. รูปแบบของปกหนังสือ เป็นส่วนสำาคัญท่สุด ท่สาราณียกรท่รับผิดชอบในแต่ละปี
ี
ี
้
ั
ื
้
ั
จะตองสรางสรรคขนดวยความประณตและสวยงาม ตงแตการออกแบบตวอกษร การคดเลอกภาพ
่
ั
ั
้
้
ึ
์
้
ี
ที่จะนำามาตีพิมพ์ การให้สีปก การขยายหรือย่อองค์ประกอบต่างๆ นับว่าเป็นงานศิลปะชั้นสูง
เพราะปกของหนังสือเป็นส่วนสำาคัญที่สุดที่ผู้อ่านจะเลือกหยิบจับและซื้อหามาอ่าน
๒. เนื้อหาท่สาราณียกรแต่ละปีรับผิดชอบ ซ่งมีบทความ เร่องส้น เร่องแปลจากต่างประเทศ
ื
ื
ั
ี
ึ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ ซ่งจะต้องคัดเลือกและทาบทามนักเขียนผู้ทรงคุณวุฒิมาเขียน
ึ
บทความนั้นๆ ก็เป็นส่วนสำาคัญ นิสิตที่รับผิดชอบเป็นสาราณียกรจะต้องมีความรอบรู้อย่างสูง
๓. หน้าโฆษณาต่างๆ ก็เป็นส่งสำาคัญ ทำาให้เราได้เห็นพัฒนาการของสินค้าและการ
ิ
ั
ิ
ี
ี
ออกแบบโฆษณาชิ้นนั้นๆ แต่เป็นท่น่าเสียดายอย่างย่งท่จะต้องตัดหน้าโฆษณาออกท้งหมด
มิฉะนั้นหนังสือจะหนาถึง ๕๐๐ หน้า
สุดท้ายนี้ คณะสาราณียกรขอขอบพระคุณคณะที่ปรึกษาฯ ที่กรุณาให้ข้อคิดความเห็น
ต่างๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง และหวังว่าอัตถประโยชน์ที่จะมีขึ้นจากการอ่านหนังสือเล่มนี้
ี
จะผลักดันให้ท่านได้ติดตามไปอ่านเล่มจริงท่สำานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(ห้องหนังสือหายาก ชั้น ๖) ซึ่งได้จัดทำาเป็นไฟล์ดิจิทัลไว้เรียบร้อยแล้ว
นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์
สาราณียกร
มหาวิทยาลัย I 7