Page 12 - :: มหาวิทยาลัย | หนังสือที่ระลึกงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ๒๕๖๗ ::
P. 12
้
ิ
ในปลายปีนน กจการของสโมสรร่งเรองขน ท่านอธิการหอ สมิชฌน์กบข้าพเจ้า
ั
ุ
ึ
ั
้
ื
ื
ี
รวมปรึกษากันเร่องท่จะทำาหนังสือพิมพ์ของสโมสรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ให้เป็น
ระเบียบเรียบรอยและถาวรต่อไป สมิชฌน์รับเป็นผู้หาเรื่องและเขียนภาพหัวเรื่องให้ด้วย
้
เสร็จ อันท่จริงแล้วสมิชฌน์ควรจะได้รับตำาแหน่งเป็นบรรณาธิการของมหาวิทยาลัย แต่จะ
ี
เป็นด้วยเหตุผลกลใดข้าพเจ้าไม่ทราบชัด เจ้าคุณราชดรุณรักษ์กับสมิชฌน์ได้มอบหน้าท ี ่
ั
ื
ื
ี
บรรณาธิการให้แก่ข้าพเจ้า พร้อมท้งเร่องและภาพหัวเร่อง ข้าพเจ้าไม่รู้ท่จะปัดอย่างไรได้
เพราะมองไม่เห็นใครท่พอจะโยนต่อไปอีก ถ้าข้าพเจ้าไม่รับ หนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัย
ี
ิ
ก็จะยังไม่เกิด ข้าพเจ้าจึงจำาใจต้องหอบห้วเอาภาระอันหนักเข้าไว้ ท้ง ๆ ท่รู้อยู่แล้วว่า
ี
ั
ตนยังมีความรู้อ่อนต่อหน้าที่บรรณาธิการอยู่มาก” ๑
ั
ึ
หนังสือของคณะนักเรียนมหาวิทยาลัยจึงบังเกิดข้นเป็นคร้งแรก โดยมีการ
วางแผนว่าจะออกฉบับแรกในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๖ และออก
เป็นรายทวิมาส (สองเดือน) ต่อมานายประวัติ ตัณฑ์สุรัตน์ ในฐานะบรรณาธิการคิดว่า
หนังสือยังไม่มีชื่อเรียก จึงได้กราบเรียนขอความกรุณาชื่อหนังสือจากเสนาบดีกระทรวง
ิ
ธรรมการขณะน้นก็คือเจ้าพระยาธรรมศักด์มนตรี โดยเจ้าพระยาธรรมศักด์มนตรีกล่าวว่า
ิ
ั
ื
ช่อหนังสือไม่ควรยาวเกินไป จึงขอให้มีชื่อเพียง “มหาวิทยาลัย” ซึ่งดูงามและเหมาะ
ิ
ึ
ื
หนังสือพิมพ์ช่อ “มหาวิทยาลัย” ก็เร่มก่อตัวข้นนับแต่น้น แต่ในช่วงแรกของหนังสือพิมพ์
ั
ฉบับน้ได้พบกับอุปสรรคจำานวนมาก เพราะเป็นหนังสือท่จัดทำากันเองเพียงนักเรียน
ี
ี
มหาวิทยาลัยไม่ก่คน ไม่ว่าจะเป็นอุปสรรคในการออกแบบหน้าปกของหนังสือซึ่งต่อมาได้
ี
ี
รับความร่วมมือจากหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร หรือการหาเร่องแต่งท่นำามาลงใน
ื
ึ
เล่มหนังสือ ฯลฯ และหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยฉบับแรกก็ถือกำาเนิดข้นโดยวางจำาหน่าย
ในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยมีนามว่า “หนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัย เล่มที่ ๑
ตอนที่ ๑ ประจำาเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๖”
ื
การถือกำาเนิดหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยในช่วงแรกนับว่าเป็นเร่องยากลำาบาก
ี
ื
เพราะเป็นการใช้จ่ายเงินท่สูง เน่องด้วยบรรณาธิการต้องหาเร่องท่น่าอ่านและนำาภาพ
ื
ี
ั
มาประกอบให้ดูหรูหรา จนทำาให้อธิการหอเรียกเข้าไปเทศนาบรรณาธิการอยู่บ่อยคร้ง
แม้ว่าจะมีอุปสรรคอยู่บ้างแต่ก็กลับพบว่าหนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัยได้รับการตอบรับ
ี
ื
อย่างดีจากผู้คนในสังคมสยามท่ขณะนั้นต่างพยายามโหยหาการบริโภคเร่องอ่านเล่นและ
๑ ประวัติ ตัณฑ์สุรัตน์, “หนังสือพิมพ์มหาวิทยาลัย” ใน มหาวิทยาลัย ๑๖,๕ (๒๔๘๑), น.๙๓๐-๙๓๑.
10 I มหาวิทยาลัย