Page 10 - :: มหาวิทยาลัย | หนังสือที่ระลึกงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ๒๕๖๗ ::
P. 10

กำาเนิดคณะหนังสือพิมพ์ “มหาวิทยาลัย” ในสังคมไทย


                                                                          กนิษฐ์ วิเศษสิงห์
                                 ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



                 “ชโย! ชโย!! ชโย!!!” เสียงโห่ร้องอวยชัยของคณะหนังสือมหาวิทยาลัย

                              ดังสนั่นราวกับว่าห้องสำานักงานจะพังลงไป
                              “คณะเราจงอวยพรแด่ท่านผู้อ่านหนังสือนี้”

                 เสียงท่านบรรณาธิการแหละตั้งต้นก่อน “จงเจริญ! จงเจริญ!! จงเจริญ!!!

                          พร้อมทั้งท่านผู้เปนสมาชิกและท่านทั้งหลายที่มีใจ
                                กรุณาเอื้อเฟื้อแก่หนังสือมหาวิทยาลัย”


                 (มหาวิทยาลัย เล่มที่ ๑ ตอนที่ ๑ เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๖๖, น.๘๙)



                   การสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ (ปีปฏิทิน
             สากล พ.ศ. ๒๔๖๐) นอกจากจะเป็นจุดกำาเนิดของการมีมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ (modern

             university) เป็นครั้งแรกในสังคมไทยแล้ว ยังเป็นจุดกำาเนิดของการเกิด “นิสิตจุฬาฯ” ขึ้น
             ในสังคมไทยด้วย มหาวิทยาลัยแห่งนี้ได้กลายเป็นแหล่งรวบรวมผู้คนหนุ่มสาวชาวสยาม
              ่
             ทต้องการศึกษาเล่าเรยนในวิชาชั้นสูง พวกเขาเหล่าน้มาจากสถานภาพทางสังคม
                                ี
              ี
                                                              ี
             เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มีพื้นเพถิ่นฐานกำาเนิดที่หลากหลาย และมาจาก
             ทวทกภมิภาคของสงคมสยาม พวกเขาไดมารวมตัวกนศกษาเล่าเรียนอย่ภายใต้สถานท       ี ่
                   ู
                              ั
                 ุ
              ั
                                                                           ู
                                                          ั
              ่
                                                ้
                                                             ึ
             ที่เรียกว่า “มหาวิทยาลัย” ซึ่งนับว่าการเป็นนักเรียนมหาวิทยาลัยในช่วงเริ่มแรกถือเป็น
                                                        ี
                                                                              ี
             กลุ่มบุคคลพิเศษในสังคมสยาม เพราะมีเพียงไม่ก่คนในสังคมไทยเท่านั้นท่ได้มีโอกาส
                               ี
             เข้ามาศึกษาในระดับท่สูงเพียงนี้ และพวกเขาต่างก็มีความสามารถในระดับท่สูง โดยเฉพาะ
                                                                            ี
             อย่างย่งความสามารถในการอ่านออกและเขียนได้ พวกเขาต่อมาจะกลายเป็นผู้ให้กำาเนิด
                  ิ
             ส่อส่งพิมพ์ของนิสิตมหาวิทยาลัยแก่บรรณพิภพของสยามเป็นคร้งแรกในนาม คณะ
              ื
                                                                       ั
                ิ
             หนังสือพิมพ์ “มหาวิทยาลัย”
                   การเกิดข้นของหนังสือพิมพ์ “มหาวิทยาลัย” ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการรวมกลุ่มกัน
                           ึ
                                                                                    ึ
                                                                                    ้
                                                                         ิ
                                                                               ี
                     ี
                                  ั
                             ิ
             ของนักเรยนมหาวทยาลยใน พ.ศ. ๒๔๖๖ ทได้ก่อตังสโมสรของนิสตนักเรยนขนใน
                                                     ี
                                                            ้
                                                     ่
             มหาวิทยาลัยของสยามเป็นครงแรกในนาม “สโมสรจุฬาลงกรณ์มหาวทยาลัย” โดยภายใน
                                      ั
                                                                       ิ
                                      ้
             8 I มหาวิทยาลัย
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15