Page 8 - :: มหาวิทยาลัย | หนังสือที่ระลึกงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ๒๕๖๗ ::
P. 8
คำานิยม
สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) มีหน้าท ี ่
ประจำาและสำาคัญประการหนึ่ง คือ การจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ซึ่งตรงกับวันที่ ๒๖ มีนาคม
ของทุกปี อันเป็นวันสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
ี
เจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการให้สถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในวันท่ ๒๖ มีนาคม
พ.ศ. ๒๔๕๙ เพื่อสืบสานและต่อยอดพระราชปณิธานแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
้
ั
เจ้าอยู่หัวท่ทรงต้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหว
้
ั
ี
ู
่
และเพื่อเป็นการรวมตัวถวายพระพรวันพระราชสมภพของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม
ู
ี
ิ
ิ
ั
่
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร ผ้ทรงเป็นมงขวัญย่งของชาวจุฬาฯ ท้งมวล
พร้อมกับเสริมสร้างความรักความสามัคคีของชาวจุฬาฯ การจัดงานดังกล่าวมีธรรมเนียมปฏิบัติ
ี
ี
ั
อันเป็นท่ทราบกันอยู่ท่วไปคือ ช่วงเช้ามีพิธีสงฆ์ ช่วงเย็นมีงานเล้ยงสังสรรค์ของนิสิตเก่า
จากคณะต่างๆ
เพื่อให้การจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ในโอกาสครบรอบ ๑๐๗ ปีแห่งการสถาปนา เป็น
ที่ระลึกถึง คณะกรรมการดำาเนินงานฯ เห็นว่าการพิมพ์หนังสือเป็นเรื่องที่ถาวรยาวนาน และ
เม่อไตร่ตรองอย่างรอบด้านแล้ว ก็พบว่าหนังสือ “มหาวิทยาลัย” เป็นหนังสือสำาคัญและม ี
ื
ประวัติการพิมพ์มาอย่างยาวนาน สมควรท่จะได้รับการอนุรักษ์จัดพิมพ์ซำาอีกในวาระน้ จึง
้
ี
ี
ได้นำามาจัดพิมพ์ จำานวน ๔๔ ฉบับ (โดยเน้นแสดงปก สารบัญ และหน้าเปิดบท) ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ ๒ ประการ คือ
ื
๑. ชุมชนชาวจุฬาฯ จะได้รับรู้ถึงผลงานของบรรพชนชาวจุฬาฯ เม่อร้อยกว่าปีท่ผ่านมา
ี
ว่าได้ผลิตสิ่งดีไว้ในบรรณพิภพ ยังเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจในปัจจุบันและอนาคต
๒. สาธารณชนผู้ที่สนใจงานสังคมศาสตร์แขนงต่างๆ จะได้เข้าถึงเอกสารชั้นปฐมภูมิ
ื
ั
อย่างง่ายๆ เช่น พระราชพงศาวดาร วรรณกรรม เร่องส้น กวีนิพนธ์ บทความทางวิทยาศาสตร์
ศาสนา ภาพประกอบเรื่อง ฯลฯ
คณะกรรมการดำาเนินงานฯ หวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างกว้างขวางเพื่อ
การศึกษาตลอดชีวิต ดังพุทธสุภาษิตที่ว่า “ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญาเป็นแสงสว่าง
ในโลก”
นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ
ประธานคณะกรรมการดำาเนินงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ ๒๕๖๗
6 I มหาวิทยาลัย