Page 66 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 66

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

             บรมนาถบพิตร ทรงเล่าถึงจินตนาการ ความคิดเห็นของพระองค์ อันเกี่ยวเนื่อง
             กับวัดที่ชื่อว่า “มงคล” หลังจากนั้นก็ทรงตรวจดูแผนที่และพบว่ามีวัดชื่อมงคล
             ตั้งอยู่ห่างจากอ�าเภอเมืองสระบุรี  ประมาณ  ๑๐  กิโลเมตร  จึงโปรดให้
             นายสุเมธ ตันติเวชกุล นายมนูญ มุกข์ประดิษฐ์ และนายพิมลศักดิ์ สุวรรณทัต
             กรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา พิจารณาจัดซื้อที่ดินที่ติดกับวัดมงคล ต�าบลห้วยบง

             อ�าเภอเมืองเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี จากนายขวัญเมือง ปะปลิว
             และนายสมจิตร ท้าวครุฑ จ�านวน ๑๖ ไร่ ๒ งาน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๑ ต่อมา พ.ศ. ๒๕๓๕
             จึงซื้อเพิ่มจากนางค�า แสนพันธ์ และนางบุญเรือง ราวีศรี จ�านวน ๑๕ ไร่เศษ
             รวมเป็น ๓๒ ไร่ ๔๗ ตร.วา (รวมทั้งมีผู้บริจาคสมทบด้วย) เพื่อน�ามาพัฒนา
             การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๑

                     โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจาก
             พระราชด�าริ จึงเป็นศูนย์สาธิตการด�าเนินเกษตรทฤษฎีใหม่อย่างเป็นรูปธรรม
             สามารถให้เกษตรกรน�าไปประยุกต์ใช้ปฏิบัติในพื้นที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างพออยู่พอกิน โครงการดังกล่าวนับเป็นจุดก�าเนิด

             ของเกษตรทฤษฎีใหม่แห่งแรกในประเทศไทย





















































             62
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71