Page 9 - :: สมุดภาพชัยนาทจากภาพเก่า ::
P. 9
พื้นภูมิเมืองชัยนาท
“จังหวัดชัยนาท” เป็นเมืองขนาดเล็ก เงียบสงบ มีความเป็นธรรมชาติและมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง
ิ
ิ
ี
ุ
ั
ี
ุ
ิ
่
่
้
ั
้
ั
ทงในดานศลปะ วฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวัตถ วดวาอาราม วถีชวิต ภูมปัญญา ฯลฯ ทเก่าแกและทรงคณค่า
อยู่มากมาย ซึ่งล้วนมีความน่าสนใจ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ สืบต่อให้เป็นมรดกอันล�้าค่าไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป
ี
ั
ิ
ั
ี
อย่างไม่มีท่ส้นสุด ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ท่ต้งของเมืองชัยนาทน้เป็นท่ต้งของชุมชนโบราณก่อนประวัติศาสตร์
ี
ี
ดังเช่น บริเวณเขาพลอง ต�าบลเขาท่าพระ อ�าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท มีการขุดพบชิ้นส่วนของภาชนะ
เครื่องมือหินกะเทาะ ขวานหินขัด ก�าไลหิน ฯลฯ ซึ่งมีอายุราว ๒,๖๐๐ - ๒,๗๐๐ ปี นอกจากนี้ยังพบหลักฐาน
เมืองโบราณสมัยทวารวดี คือ เมืองโบราณอู่ตะเภา ต�าบลอู่ตะเภา อ�าเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท ที่มีอายุอยู่ใน
ี
ราวพุทธศตวรรษท่ ๑๒ - ๑๖ โบราณวัตถุท่ขุดพบได้แก่ ธรรมจักรหิน ท่กงธรรมจักรมีตัวอักษรปัลลวะภาษาบาล ี
ี
ี
ึ
�
พบเหรียญเงินมีตรารูปสังข์ รูปพระอาทิตย์คร่งดวง รูปศรีวัตสะ หินบดยา ภาชนะดินเผา ใบหอกสาริด ตุ้มหูกาไล
�
ส�าริด ลูกปัดหิน เครื่องมือและอาวุธท�าจากเหล็ก ฯลฯ และเมืองโบราณดงคอน ต�าบลดงคอน อ�าเภอสรรคบุรี
จังหวัดชัยนาท
ค�าว่า “ชัยนาท” มีความหมายว่า “เสียงบันลือแห่งชัยชนะ” เมืองชัยนาทจะได้นามเมืองมาตั้งแต่เมื่อใด
�
ี
ี
ไม่ปรากฏหลักฐานท่แน่นอน แต่จากหลักฐานศิลาจารึก หลักท่ ๑ ของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช สมัยกรุงสุโขทัย
ซึ่งสันนิษฐานว่าสลักไว้เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๕ ได้กล่าวถึงเมือง “แพรก” หรือแพรกศรีราชา หรือแพรกศรีมหาราชา
ซึ่งปัจจุบัน คืออ�าเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท แต่ไม่ปรากฏชื่อเมืองชัยนาท
ุ
ุ
ั
่
ั
ั
่
ต่อมาในชวงต้นสมยกรงศรีอยธยาในรชสมยสมเด็จพระนครินทราธิราช ทรงสงพระราชโอรส ๓ พระองค ์
ี
ไปครองเมืองลูกหลวง ในระหว่าง พ.ศ. ๑๙๖๒ - ๑๙๖๗ ทรงให้เจ้าอ้ายพระยาไปครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้าย่พระยา
ครองเมืองแพรก (อ�าเภอสรรคบุรีในปัจจุบัน) และเจ้าสามพระยาครองเมืองชัยนาท (พิษณุโลก)
�
ี
จากหลักฐานจารึกลานทองวัดส่องคบท่พบในเจดีย์วัดส่องคบ ตาบลชัยนาท อ�าเภอเมืองชัยนาท จังหวัด
ชัยนาท เรียกเมืองนี้ว่า “ไชยสถาน” ซึ่งมีขุนเพชญสารเป็นเจ้าเมือง และสันนิษฐานว่าชื่อเมืองไชยสถานยังคง
ใช้สืบต่อมาจนถึงราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑)
ทั้งนี้เพราะในหนังสือลิลิตยวนพ่ายซึ่งสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แห่งกรุงศรีอยุธยา
ราว พ.ศ. ๒๐๓๒ - ๒๐๗๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้กล่าวถึงพระเจ้าติโลกราช
แห่งเมืองเชียงใหม่ทรงยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก ซึ่งยังคงเรียกเมืองพิษณุโลกว่า “ชัยนาท”
ี
ื
ไม่มีหลักฐานใดๆ ช้ชัดว่า เม่อเมืองชัยนาทถูกเปล่ยนชื่อมาเป็นเมืองพิษณุโลก แล้วเมืองไชยสถาน
ี
จะเปล่ยนช่อมาเป็นเมืองชัยนาททันทีหรือไม่ ช่อเมืองชัยนาทปรากฏข้นในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่ง
ึ
ื
ี
ื
่
ุ
์
้
ี
็
ิ
้
ี
ั
ุ
ื
่
ั
กรงศรอยธยา ราว พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๐๙๒ เมอครงพระเจ้าหงสาวดตะเบงชะเวต กษัตรยพมายกกองทพมาประชิด
ี
ถึงชานพระนครศรีอยุธยา สมเด็จพระมหาธรรมราชาแห่งเมืองพิษณุโลกได้ยกกองทัพหัวเมืองฝ่ายเหนือลงมา
ช่วยกรุงศรีอยุธยา และมาตั้งค่ายอยู่ที่เมืองชัยนาท
หลักฐานช่อเมืองชัยนาทปรากฏอีกคร้งในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต ์ ิ
ั
ื
ว่า “ศักราช ๙๑๕ ฉลูศก (พ.ศ.๒๐๙๖) เดือน ๗ แรกท�าการพระราชพิธีมัธยมกรรมสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ต�าบลไชยนาทบุรี”
ั
ึ
ี
ี
ต่อมาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการสร้างศาลากลางเมืองชัยนาทข้นท่ต�าบลบ้านกล้วย คร้นถึงรัชกาลท่ ๕
ี
ึ
ี
ได้ทรงตั้งกองทหารราบท่ ๑๖ ข้นท่เมืองชัยนาท และเม่อกองทหารราบท่ ๑๖ ได้ย้ายไปท่จังหวัดนครสวรรค์
ี
ี
ื
จึงย้ายศาลากลางเมืองชัยนาทไปตั้งในบริเวณที่เป็นกองทหารราบที่ ๑๖ และใน พ.ศ. ๒๔๕๙ จึงได้เปลี่ยนค�าว่า
“เมืองชัยนาท” เป็น “จังหวัดชัยนาท” นับแต่นั้นมา
สมุดภาพชัยนาทจากภาพเก่า 7