Page 10 - :: สมุดภาพชัยนาทจากภาพเก่า ::
P. 10
ที่ท�าการกองทหารราบที่ ๑๖ เมืองชัยนาท ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๔๔๙ ต่อมาย้ายไปตั้งที่จังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดชัยนาทและสถานที่ราชการใกล้เคียง
ั
จังหวัดชัยนาทมีลักษณะภูมิประเทศ โดยท่วไปเป็นพื้นท่ราบลุ่มมีพื้นท่ประมาณ ๙๙.๐๖ % ของพื้นท่ท้งหมด
ี
ั
ี
ี
ได้แก่ พื้นที่ตอนกลางตอนใต้และตะวันออกของจังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบจนถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด มีแม่น�้า
เจ้าพระยา แม่น�้าท่าจีนและแม่น�้าน้อย ไหลผ่านพื้นที่ต่างๆ เกือบทั่วทุกอ�าเภอ ได้แก่
แม่น�้าเจ้าพระยา ไหลผ่านอ�าเภอมโนรมย์ วัดสิงห์ เมืองชัยนาท และสรรพยา
แม่น�้าท่าจีน หรือแม่น�้ามะขามเฒ่า ไหลผ่านอ�าเภอวัดสิงห์ และหันคา
แม่น�้าน้อย ไหลผ่านอ�าเภอสรรคบุรี
นอกจากแม่น�าสาคัญ ๓ สายแล้ว จังหวัดชัยนาทยังเป็นท่ต้งของเข่อนเจ้าพระยา ซ่งเป็นส่วนหน่ง
ั
ี
้
�
ึ
ึ
ื
ี
ี
้
�
�
ของโครงการเจ้าพระยาใหญ่ (พ.ศ. ๒๔๙๕) มีหน้าท่ผันนาจากแม่นาเจ้าพระยาไปสู่ท่ราบภาคกลางผ่าน
้
้
ี
�
�
คลองชลประทานขนาดใหญ่ ซึ่งมีหลายสายไหลผ่านพื้นท่ต่างๆ ล้วนเป็นแหล่งน�าสาคัญสาหรับการเกษตรกรรม
ได้แก่
ึ
ี
คลองอนุศาสนนันท์ หรือคลองชัยนาท - ป่าสัก เป็นคลองชลประทานท่ขุดข้นเพื่อผันนาจากแม่น�า
้
�
้
เจ้าพระยา บริเวณประตูน�้ามโนรมย์ อ�าเภอมโนรมย์ ไปยังแม่น�้าป่าสัก บริเวณเหนือเขื่อนพระราม ๖ ก่อสร้างขึ้น
หลังจากที่เขื่อนเจ้าพระยาก่อสร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๐ แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ สามารถส่งน�้าได้ปริมาณ
สูงสุด ๒๑๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
่
ุ
้
็
คลองมหาราช หรือคลองชัยนาท - อยธยา เปนคลองชลประทานในโครงการเจ้าพระยาใหญ่ แยกจากแมน�า
ั
่
�
้
เจาพระยาบรเวณเหนือเขอนเจาพระยาฝงตะวนออก อาเภอสรรพยา จังหวดชัยนาท ขนานไปกบแมนาเจาพระยา
�
้
ั
ื
ั
่
ิ
้
่
ั
้
สิ้นสุดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาบริเวณภูเขาทอง สามารถส่งน�้าได้ปริมาณสูงสุด ๗๕ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๙
8 สมุดภาพชัยนาทจากภาพเก่า