Page 88 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 88

ครั้งนั้นราษฎรต�าบลยางหักได้กราบบังคมทูลขอพระราชทาน

             ความช่วยเหลือด้านแหล่งน�้า จึงมีพระราชด�าริให้กรมชลประทานพิจารณา      การเอามื้อสามัคคี
             จัดท�าโครงการพัฒนาแหล่งน�้าในต�าบลยางหักอันเนื่องมาจากพระราชด�าริขึ้น    ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
                                                                                   นครนายก
             เพื่อช่วยเหลือราษฎรในพื้นที่ดังกล่าว จึงนับว่าเป็นโครงการอันเนื่องมาจาก
             พระราชด�าริโครงการแรกในพระองค์


                    ทางโครงการได้สร้างอ่างเก็บน�้าขึ้น ๕ แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน�้าห้วย
             แม่ประจัน ๒ อ่างเก็บน�้าบ้านพุกรูด อ่างเก็บน�้าเขาหัวแดง อ่างเก็บน�้าห้วยพุกรูด
             และอ่างเก็บน�้าหินสีตอนบน ในปัจจุบันอ่างเก็บน�้าทั้ง ๕ แห่งดังกล่าว ส่งน�้าให้พื้นที่
             เพาะปลูกในต�าบลยางหัก มากกว่า ๗,๓๐๐ ไร่ ได้อย่างทั่วถึง ช่วยส่งเสริมอาชีพ

             เกษตรกรรม สร้างฐานะรายได้ที่ดีขึ้น ราษฎรที่เคยอพยพทิ้งถิ่นฐานบ้านเกิดไป
             เพราะการประกอบอาชีพที่ไม่ได้ผล พากันกลับสู่บ้านเกิดด้วยความหวังในชีวิต
             ที่เกิดขึ้นจากน�้าพระราชหฤทัย


                    นับจากนั้นเป็นต้นมา เกือบทุกครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
             โดยเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
             ไปทรงเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ต่างๆ ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของราษฎร
             และพระราชทานแนวพระราชด�าริพัฒนาแหล่งน�้า  เพื่อช่วยเหลือปัดเป่า
             ความเดือดร้อนให้ราษฎรในพื้นที่นั้น จาก พ.ศ. ๒๕๓๔ จนถึงปัจจุบัน





             84
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93