Page 87 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 87

การประยุกตทฤษฎีใหม                    ่
                                                                    ์
                                  สู โคก หนอง นา แหงน้ำาใจและความหวัง
                                                                   ่
                                    ่




                                  พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทาน
                           “ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาโดยประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ
                           การท�าการเกษตรอย่างเป็นรูปธรรม

                                 เริ่มจากการศึกษาข้อมูลจนพบว่าเกษตรกรไทยส่วนใหญ่มีพื้นที่เฉลี่ยอยู่ประมาณครอบครัวละ

                           ๑๐ - ๑๔ ไร่ จึงทรงคิดค�านวณจ�าแนกการใช้พื้นที่ดินเพื่อการด�าเนินชีวิต โดยมีเป้าหมายหลักคือ
                           ท�าอย่างไรให้มีข้าวปลาอาหารจากผืนแผ่นดินเพียงพอตลอดปี จะได้ประหยัดค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายไปกับ
                           ค่าอาหารและของกินของใช้ต่างๆ และมีรายได้เหลือพอส�าหรับจ่ายใช้สอยในสิ่งจ�าเป็นส�าหรับชีวิต

                                 ขั้นตอนของการน�าทฤษฎีใหม่ไปปฏิบัติให้ส�าเร็จนั้น มีสิ่งที่ต้องค�านึงถึงหลายประการ และ

                           ที่ส�าคัญที่สุดต้องไม่ลืมเรื่องของ “ความยืดหยุ่น” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ารัสไว้
                           บ่อยครั้งว่า “อย่าติดต�ารา” เพราะสิ่งที่พระองค์มีพระราชด�ารินั้นเป็น “ทฤษฎีใหม่” ย่อมยังไม่มีใน
                           ต�าราใดๆ และด้วยความเป็นทฤษฎีใหม่นี้ สิ่งต่างๆ ที่ก�าหนดขึ้นก็เป็นเพียง “Tentative Formula”

                          หรือสูตรคร่าวๆ เมื่อน�าไปปฏิบัติแล้ว จ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องค�านึงถึงความเหมาะสมของสภาพพื้นที่
                          และปัจจัยอื่นๆ ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละครอบครัว ซึ่งมีความแตกต่างกันไปตามภูมิสังคม


                           ๔.๑ ทฤษฎีใหม่กับการสืบสาน รักษา และต่อยอด



                                 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความส�าคัญของ “น�้า” ที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพ
                           ชีวิตและยกระดับฐานะของราษฎรได้มั่นคงยั่งยืน ประกอบกับการที่ได้ทรงเรียนรู้การทรงงานด้าน
                           พัฒนาต่างๆ จากสมเด็จพระบรมชนกนาถ เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแต่ละครั้งนั้น

                           นอกจากจะสร้างขวัญก�าลังใจและน�าความปลื้มปีติสู่ราษฎรแล้ว ทรงได้ศึกษาและทอดพระเนตร
                           โครงการพัฒนาแหล่งน�้าอันเนื่องมาจากพระราชด�าริด้วยความสนพระราชหฤทัย และพระราชทาน
                           แนวทางเพิ่มเติม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ราษฎรผู้รับประโยชน์จากโครงการนั้นๆ อีกด้วย

                                  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงริเริ่มโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริด้านการพัฒนา

                           แหล่งน�้า โดยเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรพื้นที่โครงการอุทยานเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน ต�าบลยางหัก
                           อ�าเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี และโครงการสวนป่าเฉลิมพระเกียรติในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
                           พระบรมราชินีนาถบ้านห้วยม่วง ต�าบลตะนาวศรี อ�าเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน
                           พ.ศ. ๒๕๓๔









                                                                                                         83
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92