Page 158 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 158
ท�าให้เป็นหนี้เป็นสิน แต่ก็ยังท�าไปเรื่อยๆ เพราะหวังว่าจะมีปีที่ข้าวโพดดี
ราคาดี ซึ่งลูกบ้านในหมู่บ้านห้วยกระทิง ๖๐ หลังคาเรือน ก็ตกอยู่ใน ภาพหน้าขวาบน
บ่อน�้าแหล่งกักน�้า
สถานการณ์เช่นนี้ ประกอบกับ ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ เกิดปัญหาการแผ้วถางที่ดิน ในศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ
ของลูกบ้านกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ด้วยความไม่ชัดเจนของพื้นที่ท�ากิน ท�าให้ บ้านพะกอยวา (ก�านันวิทยา)
ต้องเข้าไปไกล่เกลี่ย ในฐานะผู้น�าหมู่บ้านจึงได้ร้องขอให้สภาคริสตจักร ต�าบลพระธาตุ อ�าเภอแม่ระมาด
โดยอาจารย์นัฐ และอาจารย์ขวัญ เข้ามาช่วยวัดพื้นที่ท�ากินด้วย GPS เพื่อ จังหวัดตาก
ความชัดเจนในพื้นที่ท�ากิน
ภาพล่างหน้าซ้าย-ขวา
ต่อมา พ.ศ. ๒๕๕๗ สภาคริสตจักรได้แนะน�าให้เข้าอบรมที่ศูนย์ บรรยากาศในศูนย์กสิกรรม
กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้องกับอาจารย์ยักษ์ (นายวิวัฒน์ ศัลยก�าธร) จึง ธรรมชาติ บ้านพะกอยวา
ได้เรียนรู้ว่า เงินทองคือของมายา ข้าวปลาคือของจริง ค้นพบทางออกว่า (ก�านันวิทยา) ต�าบลพระธาตุ
สิ่งที่ส�าคัญ คือ ชีวิตและอาหาร จึงยกเลิกการท�าไร่ข้าวโพด โดยหันกลับมา อ�าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก
ปรับพื้นที่ท�ากินเป็น โคก หนอง นา ปลูกข้าว ปลูกป่า ปลูกผักที่กิน เลี้ยงปลา
เลิกใช้สารเคมี โดยมีผู้สนับสนุนจากหลายฝ่าย เช่น อาจารย์พิเชฐ โสวิทยสกุล
ช่วยออกแบบพื้นที่ คุณสัณหจุฑา จิราธิวัฒน์ ส่งเสริมการแปรรูปและ
การตลาด นายวิวัฒน์ ศัลยก�าธร และนายประชา เตรัตน์ มาส่งเสริมติดตาม
ให้ก�าลังใจ
ปัจจุบันในพื้นที่ ๖๐ ไร่นี้เป็นเหมือนค�ากล่าวที่ว่าในน�้ามีปลา ในนา
มีข้าว แถมในโคกมีป่า มีสัตว์เลี้ยง เช่น วัว พื้นที่แปลงนี้ปลอดสารเคมีอีกครั้ง
เป็นแหล่งอาหารที่ปลอดภัยที่สามารถกินได้ประมาณ ๓๕ ชนิด ท�าให้มีผู้ที่
สนใจเข้ามาดู มาชม ศึกษาเรียนรู้บ่อยครั้ง ทั้งนี้โดยการน�าของก�านันวิทยา
ท�าให้ลูกบ้านร่วม โคก หนอง นา ด้วย ๖๔ ครัวเรือน ในพื้นที่ ๑,๐๐๐ ไร่
ในแต่ละแปลงเริ่มเป็นแหล่งอาหารที่ปลอดภัยเช่นเดียวกับในพื้นที่ของ
ก�านันวิทยา
154