Page 153 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 153

๓




                                                  ๗.๔  ศูนยกสิกรรมธรรมชาติบ้านพะกอยวา  (ก�านัน
                                           วิทยา)  ต�าบลพระธาตุ อ�าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก


                                                      ศูน ย ์ก ส ิก ร ร ม ธ ร ร ม ช า ต ิบ ้า น พ ะ ก อ ย ว า   ( ก�า นัน ว ิท ย า )
                                           บ้านห้วยกระทิง ต�าบลพระธาตุ อ�าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก ที่ดินแปลงนี้

                                           เดิมเป็นไร่หมุนเวียน  ได้เริ่มท�ากินเมื่อ  พ.ศ.  ๒๕๓๘  ท�าไร่ข้าวแบบผสม
                                           ผสาน ๖๐ ไร่ มีการแบ่งท�ากินปีละ ๒๐ ไร่ หมุนเวียนได้ ๓ ปี ในไร่จะมีข้าว
                                           เป็นหลัก  และจะมีพืชผัก  ต่างๆ  เช่น  พริก  แตง  ฟักทอง  ฟักเขียว  ผักชี


               ภาพหน้าซ้ายล่าง             ผักอีหลง ฯลฯ ประมาณ ๓๕ ชนิด ท�าให้มีกินแบบพอเพียง
               นาขั้นบันได ศูนย์กสิกรรม
               ธรรมชาติบ้านพะกอยวา                ใน  พ.ศ.  ๒๕๔๕  ได้เริ่มปลูกพืชเชิงเดี่ยว  คือ  ข้าวโพด  จึงถางไร่
               (ก�านันวิทยา) ต�าบลพระธาตุ   ทั้งหมดท�าข้าวโพด  ช่วงสองปีแรก  ข้าวโพดก็ให้ผลผลิตดี  แต่เข้าปีที่  ๓
               อ�าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก   การเพาะปลูกข้าวโพดไม่ดี  ต้องซื้อปุ๋ย  ยาฆ่าหญ้า  ฆ่าแมลงเข้ามาใช้แล้ว
                                           ยิ่งท�าให้ดินเสีย  ในไร่ก็ไม่มีข้าว  ไม่มีพืชผักที่จะกิน  ทุกอย่างจึงต้องซื้อกิน
               ภาพหน้าขวาล่าง              จากที่อื่น ผลผลิตในไร่ข้าวโพดก็ลดลง ท�าให้เงินทุนที่มีอยู่หมด ประกอบกับ
               กิจกรรมในศูนย์กสิกรรม
               ธรรมชาติ บ้านพะกอยวา        ราคาข้าวโพดตกต่อเนื่อง  ปีต่อมาไม่มีทุนจึงต้องไปกู้เงินจากธนาคารเพื่อ
               (ก�านันวิทยา) ต�าบลพระธาตุ   การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพื่อมาลงทุนซื้อเมล็ดพันธ์ุ ซื้อปุ๋ย ซื้อยา
               อ�าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก   ฆ่าหญ้า หวังจะแก้มือแต่ก็ต้องผิดหวัง ผลผลิตไม่ค่อยดี ราคาข้าวโพดก็ตก


                                                                                                        149
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158