Page 221 - :: สมุดภาพอุบลราชธานี ::
P. 221

ศิลปวัตถุของวัดมณีวนาราม


























                              ั
                        ื
                                         ื
                                                                                                       ื
                                                                     ื
           เคร่องต้ง หรือเคร่องบูชาท้งห้า “อู่ก่ง” เคร่องนมัสการตามธรรมเนียมจีน เป็นเคร่องลายคราม สร้างจากวัสดุเซรามิกหรือกระเบ้องเคลือบ
              ื
                 ั
           ศิลปะจีน ยุคราชวงศ์ชิง  ประกอบด้วยชุดบูชา ๕ ชิ้น ได้แก่ ๑) กระถางก�ายาน หรือกระถางธูป ขาแข้งสิงห์ ๔ ขา ๑ ใบ ๒) เชิงเทียน
           ลายครามเคลือบสีขาว ฐานขาสิงห์ ๑ คู่ ๓) แจกัน ๑ คู่ ศิลปะจีน ยุคราชวงศ์ชิง แต่เดิมใช้เป็นเครื่องนมัสการพระรัตนตรัยประจ�า
           ศาลาการเปรียญ ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ภายในกุฏิใหญ่ พิพิธภัณฑ์วัดมณีวนาราม พระปกรณ์ ชินวโร (ปุกหุต) เรียบเรียงค�าบรรยาย
















                                                                          ธรรมาสน์ตั่งขาสิงห์ (ตั่งปั่นปาติโมกข์) หรือ “โฮง
                                                                          อุปโป” ฝีมือช่างเมืองอุบลราชธานี ขนาดกว้าง
                                                                          ๔๕ เซนติเมตร ยาว ๑๐๓ เซนติเมตร สูง ๕๔
                                                                                                        ี
                                                                          เซนติเมตร เป็นธรรมาสน์เอกลักษณ์ท่พบมาก
                                                                          ในเมืองอุบลราชธานี ประกอบด้วยส่วนขาสิงห์
                                                                          ส่วนฐานบัว ส่วนพื้นและพนักหลังและด้านข้าง
                                                                          ลายท่ประดับบนธรรมาสน์เป็นลายแกะสลักลงรัก
                                                                              ี
                                                                          ปิดทองประดับกระจก บางส่วนทาสีชาด ตัวตั่งมี
                                                                          แนวยาวไปด้านหลังไม่เหมือนธรรมาสน์ต่งขาสิงห์
                                                                                                        ั
                                                                           ี
                                                                               ั
                                                                                            ี
                                                                                               �
                                                                          ท่พบท่วไป ธรรมาสน์น้ใช้สาหรับพระภิกษุสวด
                                                                          พระปาติโมกข์ เดิมเคยประจาในอุโบสถ (สิม) หลัง
                                                                                               �
                                                                                          ื
                                                                               ื
                                                                          เดิมท่ร้อถอนไปแล้วเม่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ สันนิษฐานว่า
                                                                              ี
                                                                          คงสร้างขึ้นในงานกฐิน สมัยที่พระอริยวงศาจารย์
                                                                          ญาณวิมล อุบลสังฆปาโมกข์ (สุ้ย) หรือ “ท่านเจ้า”
                                                                                                      ี
                                                                          ครองวัดมณีวนาราม ช่วงราวรัชกาลท่ ๓ ปัจจุบัน
                                                                          จัดแสดงอยู่ภายในกุฏิใหญ่  พิพิธภัณฑ์
                                                                          วัดมณีวนาราม พระปกรณ์ ชินวโร (ปุกหุต)
                                                                          เรียบเรียงค�าบรรยาย
                                                                                      สมุดภาพอุบลราชธานี   219
                                                                                                        Ÿ
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226