Page 222 - •-- สมุดภาพอ่างทอง --•
P. 222
จิตรกรรมฝาผนังวัดไชโยวรวิหาร
จิตรกรรมฝาผนังวัดไชโยวรวิหาร ต�าบลไชโย อ�าเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง
วัดไชโยวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เดิมเป็นวัดราษฎร์ สร้างมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ สมเด็จ
�
พระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรสี) เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม ได้มาสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิองค์ใหญ่เป็นปูนขาวไม่ปิดทองไว้
�
กลางแจ้ง ต่อมา พ.ศ. ๒๔๓๐ มีการปฏิสังขรณ์วัดไชโยท้งพระอาราม ทาให้พระพุทธรูปของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต)
ั
ได้รับแรงกระทบกระเทือนจากการก่อสร้างพระวิหารจึงพังทลายลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้
ื
เจ้าพระยารัตนบดนทร์ (รอด กัลยาณมิตร) เป็นแม่กอง ร้อองค์พระเดิมออกหมดแล้วสร้างพระพุทธรูปข้นใหม่แทนองค์เดิม
ึ
ิ
มีความสูง ๑๑ วาเศษ หน้าตักกว้าง ๘ วาเศษ พระราชทานนามว่า “พระมหาพุทธพิมพ์” สร้างพระวิหาร พระอุโบสถ ศาลาราย
ก�าแพงแก้ว ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ หอระฆัง ศาลารายกลางวัด และศาลาท่าน�้าใหม่ทั้งหมด จนส�าเร็จบริบูรณ์
มีงานฉลองใน พ.ศ. ๒๔๓๘ และโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะวัดไชโยให้เป็นพระอารามหลวง
พระอุโบสถหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นอาคารสร้างเช่อมกันกับพระวิหาร พระประธานเป็นพระพุทธรูปปั้น
ื
ปางสมาธิ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ผนังทุกด้านเขียนภาพจิตรกรรมแบบประเพณี ฝีมือช่างสมัยรัชกาลท่ ๕ เป็นเร่องพุทธประวัต ิ
ื
ี
มีภาพเหล่าเทพชุมนุมที่วิจิตรงดงาม บานประตูด้านนอกแกะสลักอย่างประณีต ด้านในบานหน้าต่าง - ประตูเขียนภาพเครื่องตั้ง
บูชา
220 สมุดภาพอ่างทอง