Page 133 - การประยุกต์ทฤษฎีใหม่สู่ โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง | กรมการพัฒนาชุมชน
P. 133

การห่มดิน







                     ในการเสด็จฯ เยี่ยมเพื่อทรงงานในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
              มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีรับสั่งถึงวิธีการอนุรักษ์ดินในพื้นที่โครงการ โดยไม่ไถหน้าดิน
              ก่อนการปลูกพืช ดังนี้



                             ในแต่ละพื้นที่ซึ่งมักจะเปิดหน้าดิน (ปอกเปลือก) ดิน แล้วท�าการเกษตร

                     ซึ่งยังถือว่าเป็นวิธีการผิดธรรมชาติจะเกิดปัญหาในอนาคต ให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
                     ห้วยทรายฯ ท�าการเกษตรอย่างไม่ท�าลายธรรมชาติ เช่น การไม่ไถพรวนเปิดหน้าดิน

                     (ปอกเปลือก) เปลือยดิน เป็นต้น โดยให้ทุกโครงการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ
                     ท�าเป็นตัวอย่าง แล้วหาทางแนะน�าให้ราษฎรท�าต่อไป



                     ดังนั้น  จึงมีการห่มดินในรูปแบบต่างๆ ตามหลักทฤษฎีใหม่ ควรห่มดินให้หนาประมาณ  ๕๐ เซนติเมตร
              และเว้นระยะห่างจากโคนต้นไม้ เพราะการห่มดินชิดต้นไม้เกินไปจะท�าให้หนอนเจาะต้นไม้ได้ วัสดุที่ใช้ในการ
              ห่มดินเป็นวัสดุอะไรก็ได้ที่มีอยู่ท้องถิ่น เช่น ภาคเหนือเป็นซังข้าวโพด ภาคใต้เป็นกากกาแฟ ใบปาล์ม ภาคกลาง

              เป็นฟางข้าว ซึ่งวัตถุดิบในแต่ละภาคแตกต่างกันไปตามภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่





            ประโยชนของการหมดิน                                   ประโยชนของจุลินทรีย  ์
                                                                          ์
                     ์
                              ่
                   ๑. เป็นที่อยู่อาศัยของจุลินทรีย์ เนื่องจาก           ๑. ตรึงไนโตรเจนในอากาศ ซึ่งในอากาศมี
            ปลายรากพืชเป็นที่อยู่ของจุลินทรีย์ ซึ่งมีหน้าที่ในการ  ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบอยู่ประมาณ ๗๘% หรือ

            ย่อยอาหารให้เป็นของเหลวแล้วป้อนสู่ระบบรากพืช         คิดเป็นประมาณ ๓ ใน ๔ ของอากาศทั้งหมด ซึ่งเป็น
            จุลินทรีย์จะแบ่งเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ราและ       ธาตุอาหารที่เป็นส่วนส�าคัญในการสร้างการเจริญเติบโต
            แบคทีเรีย เมื่อดินมีความร้อนชื้น จะเป็นที่อยู่อาศัย  ของพืช
            ของจุลินทรีย์                                               ๒. ช่วยย่อยสลายเศษซากพืช ซากสัตว์

                   ๒. เก็บความชื้นและป้องกันการระเหยของน�้า             ๓. ช่วยย่อยแร่ธาตุจากหิน ลูกรัง ทราย เช่น
            ในดิน ยิ่งห่มหนา แสงแดดเข้ามาไม่ถึง จะยิ่งท�าให้ดิน  เหล็ก สังกะสี แมงกานีส แคลเซียม ฟอสฟอรัส เป็นต้น
            มีความชื้นตลอดเวลา และในขณะเดียวกันก็จะป้องกัน       ซึ่งจะกลายเป็นธาตุอาหารของพืชต่อไป

            การระเหยของน�้าในดินได้ด้วย
                   ๓. เมื่อสิ่งที่ห่มดินเน่าเปื่อยจะกลายเป็นอาหาร       ๔. ช่วยสร้างฮอร์โมนให้พืช เช่น ไซโตไคนิน
            ของสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณหน้าดิน ซึ่งนอกจากจะช่วย   จิบเบอริลิน ออกซิน เป็นต้น ซึ่งช่วยเร่งการเจริญเติบโต

            พรวนดินแล้ว มูลของสัตว์เหล่านี้ยังเป็นปุ๋ยให้แก่พืช   ของพืช
            เช่น ไส้เดือน แมลงแกลบ กิ้งกือ เป็นต้น                      ๕. สร้างสารป้องกันโรคพืช เพราะราและ

                   ๔. เมื่อวัสดุที่ห่มย่อยสลายจะกลายเป็นฮิวมัส   แบคทีเรียกลุ่มนี้เป็นราขาว ถ้าสภาพดินเป็นกลาง
            ซึ่งเป็นปุ๋ยชั้นดีให้กับต้นไม้                       จุลินทรีย์จะเจริญเติบโตได้ดี ท�าให้ราด�าที่มีกลิ่นและ
                                                                 เป็นโทษกับระบบรากพืชเข้ามาในพื้นที่ไม่ได้




                                                                                                        129
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138